ยินดีต้อนรับ

พลเมืองที่รอบรู้เท่าทัน คือ พลังประชาธิปไตยที่แท้จริง
Well-informed citizens are the true democratic forces.

Tuesday, June 30, 2015

Piangdin for Peace Academy: อียูออกแถลงการณ์กรณีจับกุม นศ.14 คน ชี้ "เป็นพัฒนา...

30 มิ.ย. 2558

หน้าเรือนจำพิเศษกรุงเทพ

อนุสรณ์ อุณโณ อาจารย์คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อ่านแถลงการณ์ในนามเครือข่ายคณาจารย์ผู้ห่วงใยศิษย์ที่ถูกคุมขัง
เรียกร้องให้ปล่อยตัว 14 นศ.
ทันทีอย่างไม่มีเงื่อนไขและไม่ให้มีการตั้งข้อหา หรือดำเนินคดี
ระบุการจับกุมคุมขังนักศึกษาจำนวน 14
คนด้วยข้อหาขัดคำสั่งหัวหน้าคณะรัฐประหารเป็นสิ่งไม่ชอบธรรมเพราะรัฐประหาร
ไม่มีความชอบธรรมตั้งแต่ต้น



รายละเอียดมีดังนี้

เครดิต ประชาไท















แถลงการณ์จากเครือข่ายคณาจารย์ผู้ห่วงใยศิษย์ที่ถูกคุมขัง

ฉบับที่ 1



สังคมไทยสร้างขึ้นจากความสัมพันธ์หลายด้านและหนึ่งในนั้นคือความสัมพันธ์
ระหว่างครูกับศิษย์ เพราะพ้นจากครอบครัวและผู้ให้กำเนิดแล้ว
สถานศึกษาและครูบาอาจารย์คือสถานที่และบุคคลที่มีส่วนในการบ่มเพาะขัดเกลา
สมาชิกของสังคม
สังคมจะเป็นอย่างไรส่วนหนึ่งขึ้นกับรูปแบบและวิธีการเรียนรู้และความ
สัมพันธ์ระหว่างครูกับศิษย์
ซึ่งไม่ได้จำกัดเฉพาะการค้นคว้าตำราหรือว่ากิจกรรมการเรียนการสอนใน
ห้องเรียน
หากแต่หมายรวมถึงกระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงและสิ่งที่อยู่พ้น
ห้องเรียนออกไป

การเคลื่อนไหวเรียกร้องประชาธิปไตยของนักเรียน นิสิต

นักศึกษาโดยเฉพาะในช่วงเดือนเศษที่ผ่านมานับเป็นกระบวนการเรียนรู้จาก
ประสบการณ์จริงนอกห้องเรียนที่สำคัญประการหนึ่งขณะเดียวกันก็เป็นการปฏิบัติ
ตามบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในสังคมประชาธิปไตยที่เคารพในสิทธิเสรีภาพ
และความเสมอภาคของบุคคล นักเรียน นิสิต
นักศึกษาเหล่านี้ไม่ได้ละเลยหน้าที่ในการเรียนรู้ของตนตามที่บางฝ่ายกล่าวหา
และขณะเดียวกันพวกเขาได้แสดงบทบาทในครรลองของสังคมประชาธิปไตยอย่างกล้าหาญ

เป็นการใช้สิทธิขั้นพื้นฐานของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยที่ไม่เพียงแต่จะ
สอดรับกับหลักการและทฤษฎีอันเป็นสากลหากแต่ยังสอดคล้องกับหลักกฎหมายที่นานา
อารยะประเทศให้การรับรองจะมีก็แต่เผด็จการที่หวาดกลัวเสรีภาพในการเรียนรู้
และการแสดงความเห็นต่างของพลเมืองเท่านั้นที่เห็นการเคลื่อนไหวของพวกเขา
เป็นสิ่งผิดหรือเป็นอันตรายจนกระทั่งต้องใช้อำนาจดิบหยาบและกฎหมายป่าเถื่อน
เข้ายับยั้งปราบปราม

ในฐานะครูบาอาจารย์ผู้ตระหนักในบทบาทหน้าที่ที่มีต่อศิษย์และสังคม
พวกเราเห็นว่าการจับกุมคุมขังนักศึกษาจำนวน 14
คนด้วยข้อหาขัดคำสั่งหัวหน้าคณะรัฐประหารเป็นสิ่งไม่ชอบธรรมเพราะรัฐประหาร
ไม่มีความชอบธรรมตั้งแต่ต้น
จึงเรียกร้องให้ปล่อยตัวพวกเขาทันทีอย่างไม่มีเงื่อนไขและไม่ให้มีการตั้ง
ข้อหาหรือว่าดำเนินคดีกับพวกเขาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวดัง
กล่าว

ประการสำคัญ
พวกเราจะส่งเสริมและให้การสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ประชาธิปไตยนอก
ห้องเรียนของนักศึกษาเหล่านี้ในรูปแบบและวิธีการต่างๆต่อไปจนกว่าจะสังคมไทย
จะกลายเป็นสังคมประชาธิปไตยอย่างแท้จริง

ด้วยความเชื่อมั่นในสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค

เครือข่ายคณาจารย์ผู้ห่วงใยศิษย์ที่ถูกคุมขัง

30 มิถุนายน 2558

รายชื่อผู้ร่วมลงนาม

แถลงการณ์จากเครือข่ายคณาจารย์ผู้ห่วงใยศิษย์ที่ถูกคุมขัง ฉบับที่ 1

1. กนกรัตน์ สถิตนิรามัย คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ

2. กนกวรรณ มะโนรมย์ คณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี

3. กาญจนา เหล่าโชคชัยกุล ม.ธรรมศาสตร์

4. กฤษฎา บุญชัย คณะรัฐศาสตร์ ม.ราชภัฎมหาสารคาม

5. กิ่งกาญจน์ สำนวนเย็น คณะรัฐศาสตร์ ม.อุบลราชธานี

6. กิตติ วิสารกาญจน สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

7. เกษม เพ็ญภินันท์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ

8. เกษียร เตชะพีระ คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

9. กรพนัช ตั้งเขื่อนขันธ์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

10. เก่งกิจ กิติเรียงลาภ ม.เชียงใหม่

11. กุสุมา กูใหญ่ คณะวิทยาการสื่อสาร ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

12. กุลธีร์ บรรจุแก้ว คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

13. กฤษณ์พชร โสมณวัตร ม.เชียงใหม่

14. ขนิษฐา กีรติภัทรกาญจน์ ม.ราชภัฏนครศรีธรรมราช

15. ขวัญชีวัน บัวแดง ม.เชียงใหม่

16. ขรรค์เพชร ชายทวีป คณะนิติศาสตร์ ม.อุบลราชธานี

17. คารินา โชติรวี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ

18. เคท ครั้งพิบูลย์

19. คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร

20. คงกฤช ไตรยวงค์ ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร

21. คมลักษณ์ ไชยยะ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

22. คอลิด มิดำ คณะดนตรีและการแสดง ม.บูรพา

23. คำแหง วิสุทธางกูร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

24. จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร ม.หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

25. จิรธร สกุลวัฒนะ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

26. จิราพร เหล่าเจริญวงศ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ

27. จิราภรณ์ สมิธ คณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี

28. จิรสิริ เกษมสินธุ์ วิเวกเมธากร คณะศิลปศาสตร์ ม.มหิดล

29. จักรกริช สังขมณี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ

30. จักเรศ อิฐรัตน์ คณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี

31. จันทนี เจริญศรี คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ม.ธรรมศาสตร์

32. จันจิรา สมบัติพูนศิริ คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

33. จันทรา ธนะวัฒนวงศ์ คณะรัฐศาสตร์ ม.อุบลราชธานี

34. ชลิตา บัณฑุวงศ์ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

35. ชลัท ศานติวรางคณา สถาบันโภชนาการ ม. มหิดล

36. ชานนท์ ไชยทองดี คณะครุศาสตร์ ม.ราชภัฏศรีสะเกษ

37. ชานันท์ ยอดหงส์

38. ชาญชัย ชัยสุขโกศล ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา ม.มหิดล

39. ชาญณรงค์ บุญหนุน ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร

40. ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์ คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

41. ชินทาโร ฮารา ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

42. ชัชวาล ปุญปัน อดีตอาจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.เชียงใหม่

43. ชัยพงษ์ สำเนียง สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ ม.เชียงใหม่

44. ชัยวัฒน์ มีสันฐาน คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

45. เชษฐา ทรัพย์เย็น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ธนบุรี

46. เชษฐา พวงหัตถ์ นักวิชาการอิสระ

47. เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

48. ชำนาญ จันทร์เรือง

49. ไชยันต์ รัชชกูล

50. ซากีย์ พิทักษ์คุมพล สถาบันสันติศึกษา ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

51. ซัมซู สาอุ วิทยาลัยอิสลามศึกษา ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

52. ณภัค เสรีรักษ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

53. ณัฐกานต์ อัครพงษ์พิศักดิ์ ม.มหาสารคาม

54. ณัฐกร วิทิตานนท์ ม.เชียงใหม่

55. ณัฐนันท์ คุณมาศ รัฐศาสตร์ จุฬาฯ

56. ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.ศรีปทุม

57. ณรุจน์ วศินปิยมงคล คณะรัฐศาสตร์ ม.อุบลราชธานี

58. ฐิติรัตน์ สุวรรณสม ม.นเรศวร

59. ฐิติพงษ์ ด้วงคง คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

60. ฐิติชญาน์ ศรแก้ว คณะมนุษยศาสตร์ ม.นเรศวร

62. ฐานิดา บุญวรรโณ คณะสังคมศาสตร์ ม.นเรศวร

63. ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล คณะนิติศาสตร์ ม.นเรศวร

64. ดารารัตน์ คำเป็ง คณะรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.พะเยา

65. เดชรัต สุขกำเนิด คณะเศรษฐศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

66. เดชา ตั้งสีฟ้า คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

67. เดโชพล เหมนาไลย ภาควิชาปรัชญา คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

68. ดำรงพล อินทร์จันทร์ ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี ม.ศิลปากร

69. ดวงยิหวา อุตรสินธุ์ คณะรัฐศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

70. ตฤณ ไอยะรา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ ม.วลัยลักษณ์

71. ตามไท ดิลกวิทยรัตน์ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

72. ตะวัน วรรณรัตน์ คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร

73. ทิพสุดา ญาณาภิรัต ม.มหาสารคาม

74. ทับทิม ทับทิม

75. ทัศนัย เศรษฐเสรี สาขาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ ม.เชียงใหม่

76. ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ นิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่

77. เทียมสูรย์ สิริศรีศักดิ์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย ม.มหิดล

78. ธนาวิ โชติประดิษฐ

79. ธนรรถวร จตุรงควาณิช คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

80. ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์ ภาควิชาพัฒนาสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ขอนแก่น

81. ธนศักดิ์ สายจำปา สาขาวิชารัฐศาสตร์ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช

82. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ ม.ธรรมศาสตร์

83. ธเนศ อ่าวสินธุ์ศิริ

84. ธิกานต์ ศรีนารา ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ

85. ธิติญา เหล่าอัน คณะครุศาสตร์ ม.ราชภัฏเลย

86. ธีระพล อันมัย คณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี

87. ธีรวัฒน์ ขวัญใจ คณะนิติศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์

88. ธีรวัฒน์ ทัศนภิรมย์ คณะทันตแพทยศาสตร์ ม.มหิดล

89. ธัญญธร สายปัญญา คณะรัฐศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

90. ธร ปีติดล คณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

91. นวัต เลิศแสวงกิจ คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร

92. นภิสา ไวฑูรเกียรติ ม.นเรศวร

93. นลินี ตันธุวนิตย์ คณะสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา ม.ธรรมศาสตร์

94. นภาพร อติวนิชยพงศ์ ม.ธรรมศาสตร์

95. นฤมล กล้าทุกวัน สำนักวิชาศิลปศาสตร์ ม.วลัยลักษณ์

96. นฤมล ทับจุมพล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ

97. นาตยา อยู่คง ภาควิชาสังคมศาสตร์ ม.ศิลปากร

98. นิติ ภวัครพันธุ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ

99. นิธิ เนื่องจำนง ม.นเรศวร

100. นิพันธ์ โอฬารนิเวศน์

101. เนตรดาว เถาถวิล สาขาวิชาสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี

102. นงเยาว์ เนาวรัตน์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.เชียงใหม่

103. นพพร ขุนค้า รัฐประศาสนศาสตร์ ม.ราชภัฎราชนครินทร์

104. เนาวรัตน์ ปฏิพัทธ์ภักดี คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร

105. นันทนุช อุดมละมุล คณะมนุษยศาสตร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ

106. บาหยัน อิ่มสำราญ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร

107. บุญเลิศ วิเศษปรีชา คณะสังคมและมานุษยวิทยา ม.ธรรมศาสตร์

108. บุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์ ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร

109. บูรณจิตร แก้วศรีมล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

110. บัณฑิต ไกรวิจิตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

111. บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ คณะรัฐศาสตร์ ม.รามคำแหง

112. บัณฑูร ราชมณี คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

113. เบญจรัตน์ แซ่ฉั่ว สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา ม.มหิดล

114. แบ๊งค์ งามอรุณโชติ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์การศึกษาราชบุรี

115. ปฐม ตาคะนานันท์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ ม.รามคำแหง

116. ปฐวี โชติอนันต์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

117. ปฐมพงศ์ มโนหาญ นวัตกรรมสังคม ม.แม่ฟ้าหลวง

118. ปิยชาติ สึงตี ม.วลัยลักษณ์

119. ปิยะมาศ ทัพมงคล คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

120. ปิง วิชัยดิษฐ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

121. ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี ม.เชียงใหม่

122. ประกาศ สว่างโชติ คณะวิทยาศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์

123. ประทับจิต นีละไพจิตร สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา ม.มหิดล

124. ประภาส ปิ่นตบแต่ง ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ

125. ประภัสสร์ ชูวิเชียร คณะโบราณคดี ม.ศิลปากร

126. ประยุทธ สายต่อเนื่อง

127. ปราโมทย์ ระวิน สาชาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

128. ปิยบุตร แสงกนกกุล คณะนิติศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

129. ปรีดี หงษ์สต้น คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

130. ปุรินทร์ นาคสิงห์ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

131. ปูรณ์ ขวัญสุวรรณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

132. ปฤณ เทพนรินทร์ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง ม.มหาสารคาม

133. ปวลักขิ์ สุรัสวดี คณะศิลปศาสตร์ ม.มหิดล

134. ปองขวัญ สวัสดิภักดิ์ คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

135. พกุล แองเกอร์

136. พงศ์พิสุทธิ์ บุษบารัตน์ Weatherhead East Asia Institute ม.โคลัมเบีย

137. พงษ์ศักดิ์ รัตนวงศ์ คณะมนุษยศาสตร์ ม.เชียงใหม่

138. พจนก กาญจนจันทร คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ม.ธรรมศาสตร์

139. พนิดา อนันตนาคม คณะมนุษยศาสตร์ ม.เชียงใหม่

140. พศุตม์ ลาศุขะ คณะมนุษยศาสตร์ ม.เชียงใหม่

141. พิชญา พรรคทองสุข คณะแพทยศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์

142. พิชามญชุ์ ทิพยพัฒนกุล ม.วลัยลักษณ์

143. พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์ คณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

144. พิรงรอง รามสูตร คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ

145. พิพัฒน์ สุยะ ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร

146. พิสิษฏ์ นาสี ม.เชียงใหม่

147. พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ

148. พิมพ์ปฏิมา นเรศศิริกุล สาขาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

149. พรณี เจริญสมจิตร์ เกษียณจากภาควิชาภาษาฝรั่งเศส คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร

150. พัชร์ นิยมศิลป คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ

151. พันธุ์พิพิธ พิพิธพันธุ์ คณะรัฐศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

152. พวงทอง ภวัครพันธุ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ

153. ไพรินทร์ กะทิพรมราช คณะมนุษยศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

154. ไพบูลย์ โสภณสุวภาพ คณะดนตรีและการแสดง ม.บูรพา

155. แพร จิตติพลังศรี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ

156. พรรณราย โอสถาภิรัตน์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ม.ธรรมศาสตร์

157. เพียงกมล มานะรัตน์ คณะรัฐศาสตร์ ม.อุบลราชธานี

158. ภาสกร อินทุมาร คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ม.มหิดล

159. ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏลำปาง

160. ภัควดี วีระภาสพงษ์ นักแปล/นักวิชาการอิสระ

161. มิกด๊าด วงศ์เสนาอารี คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร

162. มิเชล ตัน คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

163. มูนีเราะฮ์ ยีดำ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

164. มูฮัมหมัดอิลยาส หญ้าปรัง คณะรัฐศาสตร์ ม.รามคำแหง

165. เมธาวี โหละสุต คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

166. มนวัธน์ พรหมรัตน์ ม. วลัยลักษณ์

167. มรกตวงศ์ ภูมิพลับ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

168. ยอดพล เทพสิทธา คณธนิติศาสตร์ ม.นเรศวร

169. รชฏ นุเสน ม.ราชภัฏเชียงใหม่

170. รชฎ สาตราวุธ ภาควิชาปรัชญา ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

171. ราม ประสานศักดิ์ คณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี

172. รัตนา โตสกุล คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ม.ธรรมศาสตร์

173. ลลิตา หาญวงษ์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.มหาสารคาม

174. วราภรณ์ เรืองศรี ม.เชียงใหม่

175. วศิน โกมุท คณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี

176. วศินรัฐ นวลศิริ คณะมนุษยศาสตร์ ม.นเรศวร

177. วัชรพล พุทธรักษา คณะสังคมศาสตร์ ม.นเรศวร

178. วัชรพล ศุภจักรวัฒนา ม.นเรศวร

179. วันรัก สุวรรณวัฒนา คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

180. วาสนา ละอองปลิว ม.ธรรมศาสตร์

181. วิจักขณ์ พานิช

182. วิเชียร อินทะสี ม.นเรศวร

183. วิทยา อาภรณ์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ ม.วลัยลักษณ์

184. วินัย ผลเจริญ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง ม.มหาสารคาม

185. วิริยะ สว่างโชติ

186. วิภา ดาวมณี อดีตอาจารย์ วิทยาลัยนวัตกรรม ม.ธรรมศาสตร์

187. วิภาวี พงษ์ปิ่น คณะสังคมวิทยาและสังคมวิทยา ม.ธรรมศาสตร์

188. วิมลสิริ เหมทานนท์ วิทยาลัยนานาชาติ ม.มหิดล

189. วิโรจน์ อาลี คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

190. วิลลา วิลัยทอง คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

191. วิศิษย์ ปิ่นทองวิชัยกุล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏจันทรเกษม

192. วิศรุต พึ่งสุนทร ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

193. วีรบูรณ์ วิสารทสกุล ม.ธรรมศาสตร์

194. เวลา กัลหโสภา บริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ม.เทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงใหม่

195. วรรณภา ลีระศิริ คณะรัฐศาสตร์ ม.เชียงใหม่

196. วรรณวิภางคฺ์ มานะโชติพงษ์ คณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

197. วรวิทย์ เจริญเลิศ คณะเศรษฐศาสตร์ ม.เชียงใหม่

198. วรยุทธ ศรีวรกุล

199. เวฬุรีย์ เมธาวีวินิจ วิทยาลัยนวัตกรรม ม.ธรรมศาสตร์

200. เวียงรัฐ เนติโพธิ รัฐศาสตร์ จุฬาฯ

201. ศักรินทร์ ณ น่าน

202. ศาสวัต บุญศรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.ศิลปากร

203. ศรีประภา เพชรมีศรี สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา ม.มหิดล

204. ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ ภาควิชาสื่อ ศิลปะ และการออกแบบ คณะวิจิตศิลป์ ม.เชียงใหม่

205. ศรัญญู เทพสงเคราะห์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

206. ศศิธร จันทโรทัย ม.นเรศวร

207. ศศิประภา จันทะวงศ์ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.มหาสารคาม

209. ศุทธิกานต์ มีจั่น วิทยาลัยการเมืองการปกครอง ม.มหาสารคาม

210. ศุภวิทย์ ถาวรบุตร ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

211. โศภิต ชีวะพานิชย์ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง ม.มหาสารคาม

212. สักรินทร์ แซ่ภู่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ม.มหาสารคาม

213. สันติชัย ปรีชาบุญฤทธิ์ คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร

214. เสนาะ เจริญพร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

215. สามชาย ศรีสันต์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ม.ธรรมศาสตร์

216. สายชล สัตยานุรักษ์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ ม.เชียงใหม่

217. สายัณห์ แดงกลม คณะโบราณคดี ม.ศิลปากร

218. สิริจิต สุนันต๊ะ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย ม. มหิดล

219. สิเรมอร อัศวพรหมธาดา รัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

220. สถิตย์ ลีลาถาวรชัย ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ ม.นเรศวร

221. สิทธารถ ศรีโคตร ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

222. สุชาติ เศรษฐมาลินี สาขาวิชาสันติศึกษา ม.พายัพ

223. สุธาทิพย์ โมราลาย

224. สุภัทรา น.วรรณพิณ อดีตอาจารย์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

225. สุทธิชัย งามชื่นสุวรรณ คณะนิติศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

226. สุธิดา วิมุตติโกศล คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

227. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ

228. สุปรียา หวังพัชรพล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

229. สุรพศ ทวีศักดิ์ ม.ราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์การศึกษาหัวหิน

230. สุรางค์รัตน์ จำเนียรพล สถาบันวิจัยสังคม จุฬาฯ

231. สุรินทร์ อ้นพรม คณะวนศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

232. สุรัช คมพจน์ หลักสูตรรัฐศาสตร์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ ม.วลัยลักษณ์

233. สุไรนี สายนุ้ย คณะรัฐศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

234. สุวนันทน์ อินมณี ม.นเรศวร

235. สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ม.ธรรมศาสตร์

236. สร้อยมาศ รุ่งมณี ม.ธรรมศาสตร์

237. สมฤทธิ์ ลือชัย นักวิชาการอิสระ

238. โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ

239. เสนาะ เจริญพร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

240. เสาวณิต จุลวงศ์ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

241. เสาวนีย์ ตรีรัตน์ อเลกซานเดอร์ คณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี

242. อนุสรณ์ ชัยอักษรเวช สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

243. อนุสรณ์ ติปยานนท์ ม.เชียงใหม่

244. อนุสรณ์ อุณโณ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ม.ธรรมศาสตร์

245. อมต จันทรังษี ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

246. อรุณี สัณฐิติวณิชย์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

247. อสมา มังกรชัย คณะรัฐศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

248. อภิชาต สถิตนิรามัย คณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

249. อภิญญา เวชยชัย คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

250. อภัยชนม์ สัจจะพัฒนกุล สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ ม.ราชภัฏพิบูลสงคราม

251. อภิราดี จันทร์แสง ม.มหาสารคาม

252. อรัญญา ศิริผล ม.เชียงใหม่

253. อลิสา หะสาเมาะ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

254. อาจิณ โจนาธาน อาจิณกิจ มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฎราชนครินทร์

255. อาทิตย์ ทองอินทร์ ม.รังสิต

256. อาทิตย์ พงษ์พานิช ม.นเรศวร

257. อาทิตย์ ศรีจันทร์

258. อานันท์ กาญจนพันธุ์ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ ม.เชียงใหม่

259. อิทธิพล จึงวัฒนาวงค์ คณะรัฐศาสตร์ ม.อุบลราชธานี

260. อิสระ ชูศรี สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย ม.มหิดล

261. อิสราภรณ์ พิศสะอาด ม.เชียงใหม่

262. อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล ม.สุโขทัยธรรมาธิราช

263. อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ

264. เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์ ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร

265. เอกรินทร์ ต่วนศิริ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

266. เอกสุดา สิงห์ลำพอง คณะโบราณคดี ม.ศิลปากร

267. เอกฤทัย ฉัตรชัยเดช มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏอุตรดิตถ์

268. อุเชนทร์ เชียงเสน หลักสูตรรัฐศาสตร์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ ม.วลัยลักษณ์

269. อุบลวรรณ มูลกัณฑา คณะนิเทศศาสตร์ ม.กรุงเทพ

270. อัครพงษ์ ค่ำคูณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ ม.ธรรมศาสตร์

271. อัจฉริยา ชูวงศ์เลิศ ม.นเรศวร

272. อรภัคค รัฐผาไท อดีตอาจารย์คณะมนุษย์ศาสตร์ ม.เชียงใหม่

273. อรอนงค์ ทิพย์พิมล ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์

274. อัจฉราวรรณ บุรีภักดี สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม ม.เทคโนโลยีสุรนารี

275. อัจฉริยา ชูวงศ์เลิศ ม.นเรศวร

276. อันธิฌา แสงชัย ภาควิชาปรัชญาและศาสนา ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

277. อัมพร หมาดเด็น สำนักวิชาศิลปศาสตร์ ม.วลัยลักษณ์

278. อรรถจักร สัตยานุรักษ์ คณะมนุษยศาสตร์ ม.เชียงใหม่

279. อรรถพล อนันตวรสกุล ครุศาสตร์ จุฬาฯ

280. อนรรฆ สมพงษ์ ครุศาสตร์ ม.ราชภัฏสกลนคร

281. Philip Hirsch, Department of Human Geography, U. of Sydney








แถลงการณ์จากเครือข่ายคณาจารย์ผู้ห่วงใยศิษย์ที่ถูกคุมขัง ฉบับที่ 1

30 มิ.ย. 2558
หน้าเรือนจำพิเศษกรุงเทพ
อนุสรณ์ อุณโณ อาจารย์คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อ่านแถลงการณ์ในนามเครือข่ายคณาจารย์ผู้ห่วงใยศิษย์ที่ถูกคุมขัง เรียกร้องให้ปล่อยตัว 14 นศ. ทันทีอย่างไม่มีเงื่อนไขและไม่ให้มีการตั้งข้อหา หรือดำเนินคดี ระบุการจับกุมคุมขังนักศึกษาจำนวน 14 คนด้วยข้อหาขัดคำสั่งหัวหน้าคณะรัฐประหารเป็นสิ่งไม่ชอบธรรมเพราะรัฐประหาร ไม่มีความชอบธรรมตั้งแต่ต้น

รายละเอียดมีดังนี้
เครดิต ประชาไท




แถลงการณ์จากเครือข่ายคณาจารย์ผู้ห่วงใยศิษย์ที่ถูกคุมขัง
ฉบับที่ 1

สังคมไทยสร้างขึ้นจากความสัมพันธ์หลายด้านและหนึ่งในนั้นคือความสัมพันธ์ ระหว่างครูกับศิษย์ เพราะพ้นจากครอบครัวและผู้ให้กำเนิดแล้ว สถานศึกษาและครูบาอาจารย์คือสถานที่และบุคคลที่มีส่วนในการบ่มเพาะขัดเกลา สมาชิกของสังคม สังคมจะเป็นอย่างไรส่วนหนึ่งขึ้นกับรูปแบบและวิธีการเรียนรู้และความ สัมพันธ์ระหว่างครูกับศิษย์ ซึ่งไม่ได้จำกัดเฉพาะการค้นคว้าตำราหรือว่ากิจกรรมการเรียนการสอนใน ห้องเรียน หากแต่หมายรวมถึงกระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงและสิ่งที่อยู่พ้น ห้องเรียนออกไป
การเคลื่อนไหวเรียกร้องประชาธิปไตยของนักเรียน นิสิต นักศึกษาโดยเฉพาะในช่วงเดือนเศษที่ผ่านมานับเป็นกระบวนการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงนอกห้องเรียนที่สำคัญประการหนึ่งขณะเดียวกันก็เป็นการปฏิบัติ ตามบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในสังคมประชาธิปไตยที่เคารพในสิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล นักเรียน นิสิต นักศึกษาเหล่านี้ไม่ได้ละเลยหน้าที่ในการเรียนรู้ของตนตามที่บางฝ่ายกล่าวหา และขณะเดียวกันพวกเขาได้แสดงบทบาทในครรลองของสังคมประชาธิปไตยอย่างกล้าหาญ เป็นการใช้สิทธิขั้นพื้นฐานของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยที่ไม่เพียงแต่จะ สอดรับกับหลักการและทฤษฎีอันเป็นสากลหากแต่ยังสอดคล้องกับหลักกฎหมายที่นานา อารยะประเทศให้การรับรองจะมีก็แต่เผด็จการที่หวาดกลัวเสรีภาพในการเรียนรู้ และการแสดงความเห็นต่างของพลเมืองเท่านั้นที่เห็นการเคลื่อนไหวของพวกเขา เป็นสิ่งผิดหรือเป็นอันตรายจนกระทั่งต้องใช้อำนาจดิบหยาบและกฎหมายป่าเถื่อน เข้ายับยั้งปราบปราม
ในฐานะครูบาอาจารย์ผู้ตระหนักในบทบาทหน้าที่ที่มีต่อศิษย์และสังคม พวกเราเห็นว่าการจับกุมคุมขังนักศึกษาจำนวน 14 คนด้วยข้อหาขัดคำสั่งหัวหน้าคณะรัฐประหารเป็นสิ่งไม่ชอบธรรมเพราะรัฐประหาร ไม่มีความชอบธรรมตั้งแต่ต้น จึงเรียกร้องให้ปล่อยตัวพวกเขาทันทีอย่างไม่มีเงื่อนไขและไม่ให้มีการตั้ง ข้อหาหรือว่าดำเนินคดีกับพวกเขาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวดัง กล่าว
ประการสำคัญ พวกเราจะส่งเสริมและให้การสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ประชาธิปไตยนอก ห้องเรียนของนักศึกษาเหล่านี้ในรูปแบบและวิธีการต่างๆต่อไปจนกว่าจะสังคมไทย จะกลายเป็นสังคมประชาธิปไตยอย่างแท้จริง
ด้วยความเชื่อมั่นในสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค
เครือข่ายคณาจารย์ผู้ห่วงใยศิษย์ที่ถูกคุมขัง
30 มิถุนายน 2558
รายชื่อผู้ร่วมลงนาม
แถลงการณ์จากเครือข่ายคณาจารย์ผู้ห่วงใยศิษย์ที่ถูกคุมขัง ฉบับที่ 1
1. กนกรัตน์ สถิตนิรามัย คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
2. กนกวรรณ มะโนรมย์ คณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี
3. กาญจนา เหล่าโชคชัยกุล ม.ธรรมศาสตร์
4. กฤษฎา บุญชัย คณะรัฐศาสตร์ ม.ราชภัฎมหาสารคาม
5. กิ่งกาญจน์ สำนวนเย็น คณะรัฐศาสตร์ ม.อุบลราชธานี
6. กิตติ วิสารกาญจน สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
7. เกษม เพ็ญภินันท์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ
8. เกษียร เตชะพีระ คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
9. กรพนัช ตั้งเขื่อนขันธ์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
10. เก่งกิจ กิติเรียงลาภ ม.เชียงใหม่
11. กุสุมา กูใหญ่ คณะวิทยาการสื่อสาร ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
12. กุลธีร์ บรรจุแก้ว คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
13. กฤษณ์พชร โสมณวัตร ม.เชียงใหม่
14. ขนิษฐา กีรติภัทรกาญจน์ ม.ราชภัฏนครศรีธรรมราช
15. ขวัญชีวัน บัวแดง ม.เชียงใหม่
16. ขรรค์เพชร ชายทวีป คณะนิติศาสตร์ ม.อุบลราชธานี
17. คารินา โชติรวี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ
18. เคท ครั้งพิบูลย์
19. คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร
20. คงกฤช ไตรยวงค์ ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร
21. คมลักษณ์ ไชยยะ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
22. คอลิด มิดำ คณะดนตรีและการแสดง ม.บูรพา
23. คำแหง วิสุทธางกูร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
24. จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร ม.หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
25. จิรธร สกุลวัฒนะ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
26. จิราพร เหล่าเจริญวงศ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
27. จิราภรณ์ สมิธ คณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี
28. จิรสิริ เกษมสินธุ์ วิเวกเมธากร คณะศิลปศาสตร์ ม.มหิดล
29. จักรกริช สังขมณี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
30. จักเรศ อิฐรัตน์ คณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี
31. จันทนี เจริญศรี คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ม.ธรรมศาสตร์
32. จันจิรา สมบัติพูนศิริ คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
33. จันทรา ธนะวัฒนวงศ์ คณะรัฐศาสตร์ ม.อุบลราชธานี
34. ชลิตา บัณฑุวงศ์ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
35. ชลัท ศานติวรางคณา สถาบันโภชนาการ ม. มหิดล
36. ชานนท์ ไชยทองดี คณะครุศาสตร์ ม.ราชภัฏศรีสะเกษ
37. ชานันท์ ยอดหงส์
38. ชาญชัย ชัยสุขโกศล ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา ม.มหิดล
39. ชาญณรงค์ บุญหนุน ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร
40. ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์ คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
41. ชินทาโร ฮารา ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
42. ชัชวาล ปุญปัน อดีตอาจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ ม.เชียงใหม่
43. ชัยพงษ์ สำเนียง สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ ม.เชียงใหม่
44. ชัยวัฒน์ มีสันฐาน คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
45. เชษฐา ทรัพย์เย็น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ธนบุรี
46. เชษฐา พวงหัตถ์ นักวิชาการอิสระ
47. เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
48. ชำนาญ จันทร์เรือง
49. ไชยันต์ รัชชกูล
50. ซากีย์ พิทักษ์คุมพล สถาบันสันติศึกษา ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
51. ซัมซู สาอุ วิทยาลัยอิสลามศึกษา ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
52. ณภัค เสรีรักษ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
53. ณัฐกานต์ อัครพงษ์พิศักดิ์ ม.มหาสารคาม
54. ณัฐกร วิทิตานนท์ ม.เชียงใหม่
55. ณัฐนันท์ คุณมาศ รัฐศาสตร์ จุฬาฯ
56. ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.ศรีปทุม
57. ณรุจน์ วศินปิยมงคล คณะรัฐศาสตร์ ม.อุบลราชธานี
58. ฐิติรัตน์ สุวรรณสม ม.นเรศวร
59. ฐิติพงษ์ ด้วงคง คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
60. ฐิติชญาน์ ศรแก้ว คณะมนุษยศาสตร์ ม.นเรศวร
62. ฐานิดา บุญวรรโณ คณะสังคมศาสตร์ ม.นเรศวร
63. ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล คณะนิติศาสตร์ ม.นเรศวร
64. ดารารัตน์ คำเป็ง คณะรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.พะเยา
65. เดชรัต สุขกำเนิด คณะเศรษฐศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
66. เดชา ตั้งสีฟ้า คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
67. เดโชพล เหมนาไลย ภาควิชาปรัชญา คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
68. ดำรงพล อินทร์จันทร์ ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี ม.ศิลปากร
69. ดวงยิหวา อุตรสินธุ์ คณะรัฐศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
70. ตฤณ ไอยะรา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ ม.วลัยลักษณ์
71. ตามไท ดิลกวิทยรัตน์ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
72. ตะวัน วรรณรัตน์ คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร
73. ทิพสุดา ญาณาภิรัต ม.มหาสารคาม
74. ทับทิม ทับทิม
75. ทัศนัย เศรษฐเสรี สาขาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ ม.เชียงใหม่
76. ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ นิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
77. เทียมสูรย์ สิริศรีศักดิ์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย ม.มหิดล
78. ธนาวิ โชติประดิษฐ
79. ธนรรถวร จตุรงควาณิช คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
80. ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์ ภาควิชาพัฒนาสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ขอนแก่น
81. ธนศักดิ์ สายจำปา สาขาวิชารัฐศาสตร์ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช
82. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ ม.ธรรมศาสตร์
83. ธเนศ อ่าวสินธุ์ศิริ
84. ธิกานต์ ศรีนารา ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ
85. ธิติญา เหล่าอัน คณะครุศาสตร์ ม.ราชภัฏเลย
86. ธีระพล อันมัย คณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี
87. ธีรวัฒน์ ขวัญใจ คณะนิติศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์
88. ธีรวัฒน์ ทัศนภิรมย์ คณะทันตแพทยศาสตร์ ม.มหิดล
89. ธัญญธร สายปัญญา คณะรัฐศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
90. ธร ปีติดล คณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
91. นวัต เลิศแสวงกิจ คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร
92. นภิสา ไวฑูรเกียรติ ม.นเรศวร
93. นลินี ตันธุวนิตย์ คณะสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา ม.ธรรมศาสตร์
94. นภาพร อติวนิชยพงศ์ ม.ธรรมศาสตร์
95. นฤมล กล้าทุกวัน สำนักวิชาศิลปศาสตร์ ม.วลัยลักษณ์
96. นฤมล ทับจุมพล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
97. นาตยา อยู่คง ภาควิชาสังคมศาสตร์ ม.ศิลปากร
98. นิติ ภวัครพันธุ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
99. นิธิ เนื่องจำนง ม.นเรศวร
100. นิพันธ์ โอฬารนิเวศน์
101. เนตรดาว เถาถวิล สาขาวิชาสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี
102. นงเยาว์ เนาวรัตน์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.เชียงใหม่
103. นพพร ขุนค้า รัฐประศาสนศาสตร์ ม.ราชภัฎราชนครินทร์
104. เนาวรัตน์ ปฏิพัทธ์ภักดี คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร
105. นันทนุช อุดมละมุล คณะมนุษยศาสตร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ
106. บาหยัน อิ่มสำราญ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร
107. บุญเลิศ วิเศษปรีชา คณะสังคมและมานุษยวิทยา ม.ธรรมศาสตร์
108. บุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์ ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร
109. บูรณจิตร แก้วศรีมล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
110. บัณฑิต ไกรวิจิตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
111. บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ คณะรัฐศาสตร์ ม.รามคำแหง
112. บัณฑูร ราชมณี คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
113. เบญจรัตน์ แซ่ฉั่ว สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา ม.มหิดล
114. แบ๊งค์ งามอรุณโชติ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์การศึกษาราชบุรี
115. ปฐม ตาคะนานันท์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ ม.รามคำแหง
116. ปฐวี โชติอนันต์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
117. ปฐมพงศ์ มโนหาญ นวัตกรรมสังคม ม.แม่ฟ้าหลวง
118. ปิยชาติ สึงตี ม.วลัยลักษณ์
119. ปิยะมาศ ทัพมงคล คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
120. ปิง วิชัยดิษฐ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
121. ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี ม.เชียงใหม่
122. ประกาศ สว่างโชติ คณะวิทยาศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์
123. ประทับจิต นีละไพจิตร สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา ม.มหิดล
124. ประภาส ปิ่นตบแต่ง ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
125. ประภัสสร์ ชูวิเชียร คณะโบราณคดี ม.ศิลปากร
126. ประยุทธ สายต่อเนื่อง
127. ปราโมทย์ ระวิน สาชาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
128. ปิยบุตร แสงกนกกุล คณะนิติศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
129. ปรีดี หงษ์สต้น คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
130. ปุรินทร์ นาคสิงห์ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
131. ปูรณ์ ขวัญสุวรรณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
132. ปฤณ เทพนรินทร์ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง ม.มหาสารคาม
133. ปวลักขิ์ สุรัสวดี คณะศิลปศาสตร์ ม.มหิดล
134. ปองขวัญ สวัสดิภักดิ์ คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
135. พกุล แองเกอร์
136. พงศ์พิสุทธิ์ บุษบารัตน์ Weatherhead East Asia Institute ม.โคลัมเบีย
137. พงษ์ศักดิ์ รัตนวงศ์ คณะมนุษยศาสตร์ ม.เชียงใหม่
138. พจนก กาญจนจันทร คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ม.ธรรมศาสตร์
139. พนิดา อนันตนาคม คณะมนุษยศาสตร์ ม.เชียงใหม่
140. พศุตม์ ลาศุขะ คณะมนุษยศาสตร์ ม.เชียงใหม่
141. พิชญา พรรคทองสุข คณะแพทยศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์
142. พิชามญชุ์ ทิพยพัฒนกุล ม.วลัยลักษณ์
143. พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์ คณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
144. พิรงรอง รามสูตร คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ
145. พิพัฒน์ สุยะ ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร
146. พิสิษฏ์ นาสี ม.เชียงใหม่
147. พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
148. พิมพ์ปฏิมา นเรศศิริกุล สาขาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
149. พรณี เจริญสมจิตร์ เกษียณจากภาควิชาภาษาฝรั่งเศส คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร
150. พัชร์ นิยมศิลป คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ
151. พันธุ์พิพิธ พิพิธพันธุ์ คณะรัฐศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
152. พวงทอง ภวัครพันธุ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
153. ไพรินทร์ กะทิพรมราช คณะมนุษยศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
154. ไพบูลย์ โสภณสุวภาพ คณะดนตรีและการแสดง ม.บูรพา
155. แพร จิตติพลังศรี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ
156. พรรณราย โอสถาภิรัตน์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ม.ธรรมศาสตร์
157. เพียงกมล มานะรัตน์ คณะรัฐศาสตร์ ม.อุบลราชธานี
158. ภาสกร อินทุมาร คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ม.มหิดล
159. ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏลำปาง
160. ภัควดี วีระภาสพงษ์ นักแปล/นักวิชาการอิสระ
161. มิกด๊าด วงศ์เสนาอารี คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร
162. มิเชล ตัน คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
163. มูนีเราะฮ์ ยีดำ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
164. มูฮัมหมัดอิลยาส หญ้าปรัง คณะรัฐศาสตร์ ม.รามคำแหง
165. เมธาวี โหละสุต คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
166. มนวัธน์ พรหมรัตน์ ม. วลัยลักษณ์
167. มรกตวงศ์ ภูมิพลับ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
168. ยอดพล เทพสิทธา คณธนิติศาสตร์ ม.นเรศวร
169. รชฏ นุเสน ม.ราชภัฏเชียงใหม่
170. รชฎ สาตราวุธ ภาควิชาปรัชญา ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
171. ราม ประสานศักดิ์ คณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี
172. รัตนา โตสกุล คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ม.ธรรมศาสตร์
173. ลลิตา หาญวงษ์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.มหาสารคาม
174. วราภรณ์ เรืองศรี ม.เชียงใหม่
175. วศิน โกมุท คณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี
176. วศินรัฐ นวลศิริ คณะมนุษยศาสตร์ ม.นเรศวร
177. วัชรพล พุทธรักษา คณะสังคมศาสตร์ ม.นเรศวร
178. วัชรพล ศุภจักรวัฒนา ม.นเรศวร
179. วันรัก สุวรรณวัฒนา คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
180. วาสนา ละอองปลิว ม.ธรรมศาสตร์
181. วิจักขณ์ พานิช
182. วิเชียร อินทะสี ม.นเรศวร
183. วิทยา อาภรณ์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ ม.วลัยลักษณ์
184. วินัย ผลเจริญ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง ม.มหาสารคาม
185. วิริยะ สว่างโชติ
186. วิภา ดาวมณี อดีตอาจารย์ วิทยาลัยนวัตกรรม ม.ธรรมศาสตร์
187. วิภาวี พงษ์ปิ่น คณะสังคมวิทยาและสังคมวิทยา ม.ธรรมศาสตร์
188. วิมลสิริ เหมทานนท์ วิทยาลัยนานาชาติ ม.มหิดล
189. วิโรจน์ อาลี คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
190. วิลลา วิลัยทอง คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
191. วิศิษย์ ปิ่นทองวิชัยกุล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏจันทรเกษม
192. วิศรุต พึ่งสุนทร ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
193. วีรบูรณ์ วิสารทสกุล ม.ธรรมศาสตร์
194. เวลา กัลหโสภา บริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ม.เทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงใหม่
195. วรรณภา ลีระศิริ คณะรัฐศาสตร์ ม.เชียงใหม่
196. วรรณวิภางคฺ์ มานะโชติพงษ์ คณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
197. วรวิทย์ เจริญเลิศ คณะเศรษฐศาสตร์ ม.เชียงใหม่
198. วรยุทธ ศรีวรกุล
199. เวฬุรีย์ เมธาวีวินิจ วิทยาลัยนวัตกรรม ม.ธรรมศาสตร์
200. เวียงรัฐ เนติโพธิ รัฐศาสตร์ จุฬาฯ
201. ศักรินทร์ ณ น่าน
202. ศาสวัต บุญศรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.ศิลปากร
203. ศรีประภา เพชรมีศรี สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา ม.มหิดล
204. ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ ภาควิชาสื่อ ศิลปะ และการออกแบบ คณะวิจิตศิลป์ ม.เชียงใหม่
205. ศรัญญู เทพสงเคราะห์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
206. ศศิธร จันทโรทัย ม.นเรศวร
207. ศศิประภา จันทะวงศ์ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.มหาสารคาม
209. ศุทธิกานต์ มีจั่น วิทยาลัยการเมืองการปกครอง ม.มหาสารคาม
210. ศุภวิทย์ ถาวรบุตร ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
211. โศภิต ชีวะพานิชย์ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง ม.มหาสารคาม
212. สักรินทร์ แซ่ภู่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ม.มหาสารคาม
213. สันติชัย ปรีชาบุญฤทธิ์ คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร
214. เสนาะ เจริญพร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
215. สามชาย ศรีสันต์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ม.ธรรมศาสตร์
216. สายชล สัตยานุรักษ์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ ม.เชียงใหม่
217. สายัณห์ แดงกลม คณะโบราณคดี ม.ศิลปากร
218. สิริจิต สุนันต๊ะ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย ม. มหิดล
219. สิเรมอร อัศวพรหมธาดา รัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
220. สถิตย์ ลีลาถาวรชัย ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ ม.นเรศวร
221. สิทธารถ ศรีโคตร ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
222. สุชาติ เศรษฐมาลินี สาขาวิชาสันติศึกษา ม.พายัพ
223. สุธาทิพย์ โมราลาย
224. สุภัทรา น.วรรณพิณ อดีตอาจารย์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
225. สุทธิชัย งามชื่นสุวรรณ คณะนิติศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
226. สุธิดา วิมุตติโกศล คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
227. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ
228. สุปรียา หวังพัชรพล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
229. สุรพศ ทวีศักดิ์ ม.ราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์การศึกษาหัวหิน
230. สุรางค์รัตน์ จำเนียรพล สถาบันวิจัยสังคม จุฬาฯ
231. สุรินทร์ อ้นพรม คณะวนศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
232. สุรัช คมพจน์ หลักสูตรรัฐศาสตร์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ ม.วลัยลักษณ์
233. สุไรนี สายนุ้ย คณะรัฐศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
234. สุวนันทน์ อินมณี ม.นเรศวร
235. สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ม.ธรรมศาสตร์
236. สร้อยมาศ รุ่งมณี ม.ธรรมศาสตร์
237. สมฤทธิ์ ลือชัย นักวิชาการอิสระ
238. โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ
239. เสนาะ เจริญพร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
240. เสาวณิต จุลวงศ์ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
241. เสาวนีย์ ตรีรัตน์ อเลกซานเดอร์ คณะศิลปศาสตร์ ม.อุบลราชธานี
242. อนุสรณ์ ชัยอักษรเวช สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
243. อนุสรณ์ ติปยานนท์ ม.เชียงใหม่
244. อนุสรณ์ อุณโณ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ม.ธรรมศาสตร์
245. อมต จันทรังษี ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
246. อรุณี สัณฐิติวณิชย์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
247. อสมา มังกรชัย คณะรัฐศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
248. อภิชาต สถิตนิรามัย คณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
249. อภิญญา เวชยชัย คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
250. อภัยชนม์ สัจจะพัฒนกุล สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ ม.ราชภัฏพิบูลสงคราม
251. อภิราดี จันทร์แสง ม.มหาสารคาม
252. อรัญญา ศิริผล ม.เชียงใหม่
253. อลิสา หะสาเมาะ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
254. อาจิณ โจนาธาน อาจิณกิจ มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฎราชนครินทร์
255. อาทิตย์ ทองอินทร์ ม.รังสิต
256. อาทิตย์ พงษ์พานิช ม.นเรศวร
257. อาทิตย์ ศรีจันทร์
258. อานันท์ กาญจนพันธุ์ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ ม.เชียงใหม่
259. อิทธิพล จึงวัฒนาวงค์ คณะรัฐศาสตร์ ม.อุบลราชธานี
260. อิสระ ชูศรี สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย ม.มหิดล
261. อิสราภรณ์ พิศสะอาด ม.เชียงใหม่
262. อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล ม.สุโขทัยธรรมาธิราช
263. อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ
264. เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์ ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร
265. เอกรินทร์ ต่วนศิริ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
266. เอกสุดา สิงห์ลำพอง คณะโบราณคดี ม.ศิลปากร
267. เอกฤทัย ฉัตรชัยเดช มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏอุตรดิตถ์
268. อุเชนทร์ เชียงเสน หลักสูตรรัฐศาสตร์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ ม.วลัยลักษณ์
269. อุบลวรรณ มูลกัณฑา คณะนิเทศศาสตร์ ม.กรุงเทพ
270. อัครพงษ์ ค่ำคูณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ ม.ธรรมศาสตร์
271. อัจฉริยา ชูวงศ์เลิศ ม.นเรศวร
272. อรภัคค รัฐผาไท อดีตอาจารย์คณะมนุษย์ศาสตร์ ม.เชียงใหม่
273. อรอนงค์ ทิพย์พิมล ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
274. อัจฉราวรรณ บุรีภักดี สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม ม.เทคโนโลยีสุรนารี
275. อัจฉริยา ชูวงศ์เลิศ ม.นเรศวร
276. อันธิฌา แสงชัย ภาควิชาปรัชญาและศาสนา ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
277. อัมพร หมาดเด็น สำนักวิชาศิลปศาสตร์ ม.วลัยลักษณ์
278. อรรถจักร สัตยานุรักษ์ คณะมนุษยศาสตร์ ม.เชียงใหม่
279. อรรถพล อนันตวรสกุล ครุศาสตร์ จุฬาฯ
280. อนรรฆ สมพงษ์ ครุศาสตร์ ม.ราชภัฏสกลนคร
281. Philip Hirsch, Department of Human Geography, U. of Sydney

Monday, June 29, 2015

PIANGDIN ACADEMY: ทางออกประเทศไทย 29 มิ.ย. 2558 ตอน จุดยืนมวลฝ่ายปชต...



ทางออกประเทศไทย 29 มิ.ย. 2558 ตอน จุดยืนมวลฝ่ายปชต (เปลี่ยนระบอบ) ในสถานะการณ์มวลชนสับสน ทางนปช.ยูเอสเอ และมหาวิทยาลัยประชาชน








ทางออกประเทศไทย 29 มิ.ย. 2558 ตอน จุดยืนมวลฝ่ายปชต...



ทางออกประเทศไทย 29 มิ.ย. 2558 ตอน จุดยืนมวลฝ่ายปชต (เปลี่ยนระบอบ) ในสถานะการณ์มวลชนสับสน ทางนปช.ยูเอสเอ และมหาวิทยาลัยประชาชน








Sunday, June 28, 2015

Piangdin for Peace Academy: "จุดติดแล้ว อย่าให้ดับ"

ความเห็นจากคนไทยคนหนึ่ง ส่งต่อกันในหมู่นักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย

By The Arrow


 ......เริ่มต้นยังไงอยากที่จะบอกได้กับประเทศไทยในปัจจุบัน ปัจจุบันประเทศไทยอยู่ในฐานะ รัฐเผด็จการเต็มรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มเคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตยก็เปลี่ยนไป นปช หรือแนวประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติเงียบเป็นเป่าซาก แต่ได้มีกลุ่มไหมขึ้นมาประกอบด้วยคนรุ่นใหม่กลุ่มนี้เกิดขึ้นกลุ่มแรกต่อต้านเผด็จการคือ กลุ่มดาวดิน และอีกกลุ่มคือ กลุ่มเราคือเพื่อนกันได้รวมกันเป็นกลุ่มประชาธิปไตยใหม่ และกลุ่มนี้ได้จัดการด้วยความไม่ชอบธรรม โดยทางเจ้าหน้าที่ของฝ่ายเผด็จการเป็นไปจับกุมนักศึกษากลุ่มเหล่านี้จำนวน 14 คน สิ่งที่นักศึกษาได้ฝากไว้คือ “นี่คือเพียงจุดเริ่มต้น ให้คนที่อยู่ข้างนอกได้สารต่อ” สถานการณ์ในต้อนนี้ไม่ใช่ฝ่ายเผด็จการมีเรื่องกับ คนเสื้อแดง ไม่ใช่ฝ่ายเผด็จการมีเรื่องกับทักษิณ แต่ตอนนี้เป็นมวยคู่เอกที่เริ่มขึ้น คือฝ่ายเผด็จการ VS ประชาชน โดยมีกลุ่มประชาธิปไตยใหม่เป็นหัวเชื้อ พวกเราในฐานะคนที่อยู่ข้างนอกต้องสารต่อเพื่อไม่ให้น้องนักศึกษาติดคุกฟรี กิจกรรมเพื่อประชาธิปไตยอยู่ที่ใดต้องไปร่วมให้มาก ไปฟังให้เยอะ เพื่อให้ไฟที่จุดติดขึ้นมาเป็นเปลวไฟไม่ดับลงจนกลายเป็นเปลวไฟที่ใหญ่เพื่อจะได้ให้เผด็จการมอดไหม้ไปกับเปลวไฟนั้น

  น้องๆนักศึกษาที่กล้าหาญทั้งหลายคงชื่นใจเป็นอยากมากที่เห็นคนทุกกลุ่มออกมาต่อต้านเผด็จการครั้งนี้ยิ่งออกมามากน้องนักศึกษายิ่งออกมาจากคุกได้เร็วไม่ใช่เพียงน้องนักศึกษาออกมาจากคุกได้เร็วแต่ฝ่ายประชาธิปไตยที่อยู่ในนั้นยังออกมาได้เร็วอีกด้วย

  จากสถานการณ์ตอนนี้ฝ่ายเผด็จการไม่กล้าใช้ความรุนแรงกับเราแน่นอนเพราะอะไรเพราะมันต้องการความชอบธรรมจากต่างประเทศ อย่านิ่งเฉย อย่าคิดว่า ใครอยู่เบื้องหลังใครเพราะนั้นมันไม่ใช่วิธีคิดแบบฝ่ายเรา มันเป็นวิธีคิดของฝ่ายเผด็จการที่จะทำให้เราหลงทางในการเอาชนะฝ่ายเผด็จการ เราต้องจุดให้ติดมากๆจากเชื้อไฟตรงนี้จนสว่างไปทั่วไปเทศ อย่าเพียงจุดกระแสในกรุงเทพ แต่จุดกระแสไปต่างจังหวัดด้วยทำให้ทั่วประเทศ ถ้าเรายังนิ่งเราไม่มีทางชนะฝ่ายเผด็จการได้ บางคนคิดว่าฝ่ายเปรมVs ฝ่ายประยุทธ เราอยู่เฉยดูมันจัดการกันเองนั้นเป็นสิ่งที่ผิด แต่เราต้องจัดการในเวลาที่มันย่ำแย่ทั้งคู่ ถ้าเราไม่จัดการให้เด็ดขาดเผด็จการจะกลับมาเข้มแข็งได้ อาจจะถามว่าจัดการอย่างไร ใครทำอะไรได้ทำ ไม่ว่าการจัดตั้งกองกำลัง หรือให้ความรู้มวลชนให้ตาสว่างในสถานการณ์นี้ นักศึกษาจุดคำนึงขึ้นในสังคมไทยว่า “เบื้องหลังเราคือประชาชน และเบื้องหลังประยุทธในการทำรัฐประหารคือใคร” เราสามารถพูดได้ง่ายๆคือเบื้องหลังประยุทธคือระบอบกษัตริย์แน่นนอน อย่าให้กระแสนักศึกษาดับ อย่าให้ไฟที่จุดแล้วดับ แต่จงก่อไฟการปฏิวัติประชาชนขึ้น เพื่อประชาธิปไตยที่ยั่งยืน

        จาก The Arrow













Saturday, June 27, 2015

PIANGDIN ACADEMY: คนไทยวันนี้ ต้องการให้ประเทศไทยใต้ระบอบปชต.จริง ๆ ...






ผมลองให้พี่น้องแสดงเจตนารมย์ หรือเขียนกรอบพิมพ์เขียว สำหรับรัฐไทยใหม่  ตามลิ้งค์นี้
https://docs.google.com/forms/d/1tfCzzjPXY10tc4Hx9pVimxVGGg6cUvyYdr4LTVkiaIs/viewform?c=0&w=1

ปรากฎว่ามีพี่น้องทยอยเข้าไปแสดงความเห็นกันแล้ว อย่างคึกคักพอสมควร  ลองอ่านดูนะครับ ว่ามวลชนมดแดงล้มช้าง ราษฎรเสรีไทย เขาก้าวหน้าไปถึงไหนแล้ว




  • อยากจะให้ใช้ระบอบประชาธิปไตยเป็นที่ตั้งค่ะ
  • เป็นประชาธิปไตย์อันมีประชาชนเป็นผู้นำประเทศ
  • พลเมืองทุกคนมีสิทธิเสรีภาพเสมอภาค ไม่มีชนชั้นปกครองตนเอง รัฐบาลคือองค์กร 3   -นิติบัญญัติ-ตุลาการ-บริหาร ทั้ง 3 องค์กรต้องมีพลเมืองเข้าร่วมอย่าปล่อยเจ้าหน้าที่ทำกันเอง มุ่งเน้นความผาสุข ของประชาชนและความเติบโตทางวัฒนธรรม   กระบวนการยุติธรรมสำคัญมากควรรื้อทำใหม่
  • การปกครองในประเทศไทยในอนาคตข้างหน้า ประเทศไทยต้องปกครองในระบอบประชาธิปไตยระบบประธานาธิบดีเหมือนประเทศเสรีสากล .... ไม่เอาระบอบเผด็จการราชาธิปไตยเอามันไปไถนาปลูกข้าว-ไปเลี้ยงควายจะได้รู้ความทุกยากของประชาชนที่ยากจน...มันสบายมาชั่วนาตาปีแล้ว
  • "เป็นประชาธิปไตย์สมบูรณ์เหมือนต่างประเทศ
  • ทุกคนเท่าเทียมกัน
  • ไม่แบ่งชนชั้น"
  • "เราควรมีการเลือกตั้งตั้งแต่ตำรวจท้องที่ นายอำเภอ ผู้ว่าราชการ อบต. อบจ. ปลัดอำเภอ ปลัตจังหวัด กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน จนถึง สส. สว. ผู้พิพากษา อัยการ ตุลาการ ทุกอย่างที่ว่ามานี้ควรมาจากการเลือกตั้ง เพราะว่า อยากให้ประเทศไทยไม่มีเส้นมีสาย ข้าราชการต้องแคร์ประชาชน เพราะมาจากการเลือกตั้ง แล้วต้องทำทุกอย่างเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน

  • นายกรัฐมนตรี ต้องมาจากการเลือกตั้ง และต้องกระจายอำนาจทหาร ไม่ให้มีอำนาจมากเกินไป โดยให้นายกรัฐมนตรีมีอำนาจเหนือผู้บัญชาการทหารสูงสุด กองทัพต้องอยู่ใต้อำนาจของนายกรัฐมนตรี

  • "
  • "1.ปกครอง แบบ สหพันธ์รัฐ แบบ ประธานาธิบดีเป็นประมุข เพราะ สมัยก่อน ก่อนสุโขทัย ดินแดน ประเทศไทย เป็นอาณาจักรมาก่อน อีกทั้ง พอผมอ่านเรื่องที่จิตร แฉความลับศักดินา ทำให้ผมรู้เลยว่า ความชั่วมีมากเพียงใด

  • อีกทั้ง เมื่อ ปี 2557 ล้านนา อยากแยกประเทศ 3ชายแดน ก็อยากแยก ดังนั้น สมควรรึยังที่สยามจะปกครอง แบบ สหพันธ์รัฐ

  • 2.เปลี่ยนชื่อประเทศ เป็น สยาม หรือ สยามประเทศ (Syram แบบนี้ป้องกันไม่ให้ต่างชาติมันอ่านว่า เสียม ยุค เฮียป. แม่งโง่ มันไม่คิดแบบนี้ไง) หรือ (Syram Prathet) เพราะ ผมมีความเชื่อว่า ดวง ประเทศไทย ควรใช้ ส นำหน้า ส แปลว่า ศรี หมายถึงดี ท หมายถึง ทราม หรือ เลวทราม
  • อ้างอิง http://plutoastrologer.blogspot.com/2014/03/blog-post_14.html

  • 3.เปลี่ยนเพลงชาติ ใช้แบบ 2477 เนื่องจาก เฮีย ป. มันทุเรจ เปลี่ยนชื่อประเทศไม่พอ เปลี่ยนเพลงชาติอีก
  • ถ้าไม่เปลี่ยนทั้งสองอย่าง ก็เหมือนว่า เราอยู่ยุค เฮีย ป. อยู่ ยุคทหารอยู่

  • เชื่อไม่เชื่อไม่รู้ แต่ คนไทยอยากให้เปลี่ยนชื่อมากๆ
  • รายละเอียดเต็ม นี่ครับ http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9470000014299

  • 4.ไล่ศักดินา ออกไป ให้คนที่ใช้นามสกุล พระราชทาน หรือ ณ... เปลี่ยนนามสกุล
  • "
  • "ตัวแทนต้องมาจากการ เลือกตั้งเท่านั้น
  • มีวาระที่ชัดเจน มีเวทีดีเบท ทุกที่"
  • กษัตริย์ ลงมาอยู่ ภายใต้รัฐธรรมนูญอย่างแท้จริง หรือ ถ้าไม่ยอม ก็ล้มไปก่อนเลย อันดับแรก   ให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ ในการเลือกผู้บริหารทุกระดับ นับตั้งแต่ ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน ผู้ว่า สส. กระทั่ง นายก   ตัดอำนาจองคมนตรีออกไป มาตรา 112 ตัดออกไปเลย กระจายอำนาจการบริหาร งบประมาณ ภาษี ออกไปจามท้องถิ่นมากกว่านี้ ความจริงแลว การเป็นประชาธิปไตย มันไม่ยากเหมือนที่คิดหรอกครับ แค่ "คิดเพื่อประชาชนส่วนใหญ่" เท่านั้นก็ประชาธิปไตยแล้ว
  • อยากไห้เป็นแบบ ประเทศญี่ปุ่นค่ะ. นักการเมืองที่ปีะชาชนต้องตรวจสอบได้หรือได้มีส่วนรับรู้การใช้งบประมาณและมีสิทธที่จะเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย และตามความเรียกร้องของประชาชนค่ะ
  • ประชาชนมีส่วนร่วม
  • Republic.
  • "ยากให้ยกเลิกระบบเส้นสายทุกวงการไม่ใช่ใครมีเงินก็ไปจ้างเข้าทำงานราชการซึ่งได้คนไม่มีคุณภาพทำงานแล้วก็ไปป่วนหน่วยงานครับ
  • เลือกตั้งทุกองค์กรค์ ตั้งแต่นายอำเภอถึงผู้ว่า และที่สำคัญ หัวหน้าศาลต้องเลือกตั้งมาจากประชาชนครับ
  • ผู้บัญชาการทหารบกต้องมาจากการเลือตั้งของทหาร ยกเลิก สว ทั้วหมดให้เหลือแต่ผู้แทน
  • ยกเลิกองค์กรณ์อิสระทั้งหมด เปลื่องงบเฉยๆ เพราะถ้าเป็นประชาธิปไตยประชาชนจะครอบคุมเอบครับ"
  • "ยากให้ยกเลิกระบบเส้นสายทุกวงการไม่ใช่ใครมีเงินก็ไปจ้างเข้าทำงานราชการซึ่งได้คนไม่มีคุณภาพทำงานแล้วก็ไปป่วนหน่วยงานครับ
  • เลือกตั้งทุกองค์กรค์ ตั้งแต่นายอำเภอถึงผู้ว่า และที่สำคัญ หัวหน้าศาลต้องเลือกตั้งมาจากประชาชนครับ
  • ผู้บัญชาการทหารบกต้องมาจากการเลือตั้งของทหาร ยกเลิก สว ทั้วหมดให้เหลือแต่ผู้แทน
  • ยกเลิกองค์กรณ์อิสระทั้งหมด เปลื่องงบเฉยๆ เพราะถ้าเป็นประชาธิปไตยประชาชนจะครอบคุมเอบครับ"
  • "ยากให้ยกเลิกระบบเส้นสายทุกวงการไม่ใช่ใครมีเงินก็ไปจ้างเข้าทำงานราชการซึ่งได้คนไม่มีคุณภาพทำงานแล้วก็ไปป่วนหน่วยงานครับ
  • เลือกตั้งทุกองค์กรค์ ตั้งแต่นายอำเภอถึงผู้ว่า และที่สำคัญ หัวหน้าศาลต้องเลือกตั้งมาจากประชาชนครับ
  • ผู้บัญชาการทหารบกต้องมาจากการเลือตั้งของทหาร ยกเลิก สว ทั้วหมดให้เหลือแต่ผู้แทน
  • ยกเลิกองค์กรณ์อิสระทั้งหมด เปลื่องงบเฉยๆ เพราะถ้าเป็นประชาธิปไตยประชาชนจะครอบคุมเอบครับ"
  • แบบอเมรืกาครับ
  • 1.ไม่ต้องมีk สิ้นเปืองงบและไม่มีประโยชน์ 2.มีการเลือกตั้งประธานาธิบดีจะโดยตรงหรือจากการเลือก สส เข้าสภาแล้วมาเลือกผู้นำอีกที่ 3.มีวาระทำงาน4-5ปีและไม่ควรลงเลือกได้เกิน3ครั้ง 4.ผู้ว่าราชการจังหวัดและผู้นำท้องถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้ง ลงได้ไม่เกิน2สมัย 5.ให้ข้าราชการมีรายได้ดีจะได้ไม่คิดโกง เอาเงินที่ยึดจาก kมาเป็นทุนหมุนเวียนในระยะแรกๆ หากข้าราชการยังโกงอีกให้ลงโทษสถานหนักตั้งแต่ติดคุกถึงขั้นประหาร เพราะเราให้มีรายได้ที่ดีอยู่แล้วถ้ายังโกงอีกไม่ควรเอาใว้ กฎระเบียบใช้เหมือนกันทั่วประเทศ ให้ข้าราชการทำงานในบ้านเกิดตัวเองหรือใกล้บ้านจะลดค่าใช้จ่าย และเวลาเดินทาง 6.ประชาชนต้องเคารพกฎหมายผู้นำหรือผู้หลักผู้ใหญ่ต้องเป็นตัวอย่างที่ดี 7.ทหารต้องทำหน้าที่ของทหารห้ามยุ่งการเมือง 8.การรักษาต้องฟรีไม่มีการแบ่งชนชั้นห้ามหมอเอาเวลาราชการไปเปิดคลีนิก 9.การศึกษาต้องฟรีในระยะแรกอาจให้ถึงม.8หรือจบอาชีวะและถ้ารัฐจัดเก็บภาษีได้ดีก็ให้ขยายภาคการศึกษาถึง ป.ตรี 10.ต้องเร่งเรื่องการศึกษาให้มีคุณภาพคือสร้างคนให้เป็นมนุษย์หรือยอดมนุษย์
  • "อยากให้ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยสมบูรณ์
  • อำนาจเป็นของประชาชนจริงๆ ไม่มีกษัตริย์หรือกลุ่มอำนาจอื่นอยู่เหนือกว่า
  • ยกเลิกกษัตริย์ไปเลยได้ยิ่งดี






  • นักการเมืองมาจากการเลือกตั้งทั้งหมดไม่มีการแต่งตั้ง








มหาวิทยาลัยประชาชน (Official): กลุ่มสมาชิกรัฐสภาอาเซียนเพื่อสิทธิมนุษยชน ประนามก...

กลุ่มสมาชิกรัฐสภาอาเซียนเพื่อสิทธิมนุษยชน  ประนามการใช้อำนาจเผด็จการกับนักศึกษาดาวดิน





26 มิ.ย. 2558 กลุ่มสมาชิกรัฐสภาอาเซียนเพื่อสิทธิมนุษยชน (ASEAN Parliamentarians for Human Rights: APHR) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่ในกรุงจากาตาร์ ประเทศอินโดนีเซีย ออกแถลงการณ์เรียกร้องให้รัฐบาลไทยยุติข้อกล่าวหาทั้งหมดและปล่อยตัวนักศึกษาที่ถูกจับโดยทันที พร้อมระบุด้วยว่า ถึงเวลาแล้วที่ประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคจะต้องก้าวออกมายืนเคียงข้างผู้ที่ต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยในประเทศไทย



แถลงการณ์ระบุว่า ทั้ง 14 คนถูกจับกุมเมื่อช่วงเย็นที่ผ่านมา ด้วยข้อหาชุมนุมเกิน 5 คน ซึ่งเข้าข่ายฝ่าฝืนคำสั่ง คสช.ที่ 3/2558 โดยการจับกุมเกิดขึ้นหลังจากการประท้วงต่อต้านอำนาจ คสช. วานนี้(25 มิ.ย.)ในกรุงเทพฯ



"มันเป็นความอัปยศ ไม่มีความชอบธรรมเหลืออยู่แล้วสำหรับระบอบที่รังแกและจับกุมนักศึกษาผู้สันติที่ไม่ได้ทำอะไรมากไปกว่าการลุกยืนเพื่อสิทธิของพวกเขา"  ชาร์ล ซาดิเอโก ประธาน APHR และสมาชิกรัฐสภามาเลเซียกล่าว



"รัฐบาลทหารจะคาดหวังให้ประชาคมระหว่างประเทศเชื่อว่าจะสามารถจัดการเลือกตั้งที่เชื่อถือได้ได้อย่างไร หากประชาชนยังไม่แม้แต่จะได้รับอนุญาตให้ยืนข้างๆ กันและถือสัญลักษณ์เพื่อแสดงความเห็นทางการเมือง" ซาดิเอโก กล่าวและว่า "ประชาคมระหว่างประเทศและเพื่อนบ้านของไทยไม่สามารถจะอยู่ใต้ภาพลวงตาว่ารัฐบาลทหารตั้งใจจะคืนประชาธิปไตยกลับคืนสู่ประเทศในเร็ววัน"



แถลงการณ์ระบุถึงกรณีงานแถลงข่าวหลายงานถูกบังคับให้ยกเลิกโดยรัฐบาลทหาร ซึ่งรวมถึงหัวข้อเรื่องกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ซึ่งเป็นประเด็นที่เป็นที่ถกเถียงในสังคม ทั้งนี้ กฎหมายดังกล่าวทำให้การถกเถียงอย่างเปิดเผยใดๆ เรื่องสถาบันกษัตริย์เป็นเรื่องผิดกฎหมาย



"รัฐบาลทหารได้ออกชุดกฎหมายและนโยบายที่จะทำให้ประเทศไทยเข้าสู่ประเทศที่ปกครองด้วยความกลัวและ การกดขี่มากขึ้นๆ ขณะที่พลเมืองต้องขึ้นศาลทหารและประชาชนไม่สามารถพูดสิ่งที่คิดได้" ซานดิเอโกกล่าวและว่า "สิ่งนี้ไม่ใช่สิ่งที่ประเทศอื่นๆ ในอาเซียนจะยอมรับได้"



ทั้งนี้ เขาระบุด้วยว่า ประเทศไทยไม่ได้กำลังมุ่งสู่การปรองดอง แต่มุ่งสู่การเผชิญหน้ากับระเบิดอีกลูก พร้อมชี้ว่า อาเซียนโหยหาความมั่นคง ไม่ใช่ความขัดแย้ง และถึงเวลาแล้วที่รัฐบาลทหารจะเปิดทางให้ประชาธิปไตยและการปกป้องสิทธิมนุษย ชนขั้นพื้นฐานกลับคืนมา







ที่มา:



APHR: Cease harassment and arrests of peaceful activists in Thailand

http://www.aseanmp.org/?p=3386









Thursday, June 25, 2015

ประยุทธ์ บ่นน้อยใจ โดนวิจารณ์ไร้ผลงาน เสียใจเกิดในประเทศนี้











PIANGDIN ACADEMY: ย้อนรอย "รัฐประหาร" ในประวัติศาสตร์ไทย





ย้อนรอยรัฐประหารในประวัติศาสตร์ไทย

การรัฐประหาร คืออะไร?

หมายถึง การล้มล้างรัฐบาลผู้บริหารปกครองรัฐในขณะนั้น แต่มิใช่การล้มล้างระบอบการปกครองหรือทั้งรัฐ และไม่จำเป็นต้องใช้ความรุนแรง หรือเกิดเหตุนองเลือดเสมอไป

เช่นหากกลุ่มทหารอ้างว่า รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง บริหารประเทศชาติผิดพลาด และจำเป็นต้องบังคับให้รัฐบาลพ้นจากอำนาจ จึงใช้กำลังบังคับให้ออกจากตำแหน่ง โดยประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ หรือประกาศให้มีการเลือกตั้งใหม่ ภายในเวลาที่กำหนด ลักษณะนี้ก็เรียกได้ว่า เป็นการก่อรัฐประหาร โดยในวิชาการพัฒนาการเมือง?ซึ่งเป็นสาขาวิชาทางรัฐศาสตร์?จะถือว่าการรัฐประหาร มิใช่วิธีทางของวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย?และถือเป็นความเสื่อมทางการเมือง (political decay) แบบหนึ่ง ทั้งนี้ หากความพยายามในการก่อรัฐประหาร ไม่ประสบความสำเร็จ ผู้ก่อการมักถูกดำเนินคดีในข้อหากบฏ
ย้อนรอยรัฐประหารในประวัติศาสตร์ไทย

ย้อนรอยรัฐประหารในประวัติศาสตร์ไทย
ย้อนรอยรัฐประหารในประวัติศาสตร์ไทย : รวมปัจจุบันมีถึง 13 เหตุการณ์ด้วยกัน ดังนี้

1. รัฐประหาร 1 เมษายน พ.ศ. 2476?พระยามโนปกรณ์นิติธาดา?ได้ประกาศพระราชกฤษฎีกาปิดสภาผู้แทนราษฎร?พร้อมงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา

เกิดจากการนำเสนอเค้าโครงเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์?ฉบับที่เรียกว่า “สมุดปกเหลือง” ที่ถูกหลายฝ่ายมองว่าเป็นคล้ายกับเค้าโครงเศรษฐกิจของคอมมิวนิสต์?ก่อให้เกิดความเห็นขัดแย้งกันอย่างรุนแรงในหมู่คณะราษฎรด้วยกันเองและบรรดาข้าราชการ?จึงเกิดการ?รัฐประหารเงียบ?บีบบังคับให้นายปรีดีเดินทางออกนอกประเทศ?พร้อมทั้งกวาดล้างจับกุมพวกที่คิดว่าเป็นคอมมิวนิสต์,?พรรคคอมมิวนิสต์??ทั้งนี้มีบันทึกที่ไม่เป็นทางการว่า พระยามโนปกรณ์นิติธาดา และ พระยาทรงสุรเดช ร่วมมือกันในการขจัดบทบาททางการเมืองของคนสำคัญในคณะราษฏรเอง เช่น นายปรีดี พนมยงค์ และหลวงพิบูลสงคราม?เป็นต้น

2. รัฐประหาร 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476?นำโดยพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา?ยึดอำนาจรัฐบาล?พระยามโนปกรณ์นิติธาดา

เป็นรัฐประหารครั้งแรกในประเทศไทย?รัฐประหารครั้งนี้มีขึ้นหลังพระยามโนปกรณ์นิติธาดาประกาศพระราชกฤษฎีกาปิดสภาฯ?และงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา หลังจากมีความขัดแย้ง?”สมุดปกเหลือง” จนกระทั่งเกิดวิกฤตเมื่อ “4 ทหารเสือ”?พระยาพหลพลพยุหเสนา,?พระยาทรงสุรเดช,?พระยาฤทธิอัคเนย์?และพระประศาสน์พิทยายุทธ?ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่?18 มิถุนายน?ปีเดียวกัน โดยอ้างเหตุผลว่าเพื่อพักผ่อนหลังจากตรากตรำทำงานราชการจนสุขภาพเสื่อมโทรม

จากนั้น ในเวลาหัวค่ำของคืนวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 คณะทหารบก, ทหารเรือ และพลเรือน นำโดยพระยาพหลพลพยุหเสนา,?หลวงพิบูลสงคราม?และหลวงศุภชลาศัย?ได้ทำรัฐประหารยึดอำนาจจากพระยามโนปกรณ์นิติธาดา

อ่านต่อ ?รัฐประหารครั้งที่ 2?

3.?รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490?นำโดย พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ?ยึดอำนาจรัฐบาล พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
สาเหตุของการรัฐประหารก็คือ รัฐบาล พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ ซึ่งสืบอำนาจต่อจากรัฐบาล นายปรีดี พนมยงค์?ไม่สามารถจัดการกับปัญหาความขัดแย้งกันในชาติได้ อันมีสาเหตุหลักจากเหตุการณ์สวรรคตของรัชกาลที่ 8?ประกอบกับมีการทุจริตคอร์รัปชั่นในวงราชการ


?4.?รัฐประหาร 6 เมษายน พ.ศ. 2491?คณะนายทหารกลุ่มที่ทำการรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490?จี้บังคับให้ นายควง อภัยวงศ์?ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี?และมอบตำแหน่งต่อให้ จอมพล?ป. พิบูลสงคราม

เป็นการทำรัฐประหารโดยบุคคลกลุ่มเดียวกันกับที่ทำรัฐประหารรัฐบาล?พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ ซึ่งเป็นกลุ่มที่สนับสนุน?จอมพล ป. อดีตนายกรัฐมนตรี โดยที่ภายหลังจากกลุ่มนายทหารนำโดย?พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ?(ยศขณะนั้น) ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาล?พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์?เมื่อวันที่?8 พฤศจิกายน?พ.ศ. 2490?แล้วได้แต่งตั้งให้?นายควง อภัยวงศ์?หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์?พรรคฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร รักษาการในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี?เพื่อจัดการเลือกตั้งทั่วไปสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)

ต่อมาในการเลือกตั้งวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2491?พรรคประชาธิปัตย์ สามารถชนะการเลือกตั้งได้รับเสียงสูงสุดในสภาฯ นายควง อภัยวงศ์ ในฐานะ หัวหน้าพรรคได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสืบต่อ ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่บ่งชี้ว่า ผู้มีอำนาจที่แท้จริงก็คือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ทำให้เกิดการขัดแย้ง ..


5.?รัฐประหาร 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494?นำโดยจอมพล?ป. พิบูลสงคราม?ยึดอำนาจรัฐบาลตนเอง


เป็นการรัฐประหารอีกครั้งที่เกิดในประเทศไทย?แต่เป็นรัฐประหารครั้งแรกที่เรียกได้ว่า เป็นการ?รัฐประหารตัวเอง?(ยึดอำนาจตัวเอง)?เหตุเนื่องจากจอมพล ป. พิบูลสงคราม?นายกรัฐมนตรี อ้างว่าไม่ได้รับความสะดวกในการบริหารราชการแผ่นดิน เหตุสืบเนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2492?อันเป็นรัฐธรรมนูญที่ใช้อยู่ขณะนั้น ไม่เอื้อให้เกิดอำนาจ คือให้ผู้ที่เป็น สมาชิกวุฒิสภาจะเป็นข้าราชการประจำไม่ได้?การยึดอำนาจกระทำโดยไม่ใช้การเคลื่อนกำลังใด ๆ

ซึ่งการรัฐประหารครั้งนี้ได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าเป็นการกระทำที่ประหลาดที่สุดในโลก และเป็นเหตุให้พรรคฝ่ายค้าน คือ?พรรคประชาธิปัตย์?ได้ประกาศคว่ำบาตรรัฐบาลทุกประการ


6.?รัฐประหาร 16 กันยายน พ.ศ. 2500?นำโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์?ยึดอำนาจรัฐบาล จอมพล ป.พิบูลสงคราม


ป็นการรัฐประหารที่ถือได้ว่าพลิกโฉมหน้าการเมืองไทยไปอีกรูปแบบหนึ่งเช่นเดียวกับการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2490 สืบเนื่องจากความแตกแยกกันระหว่างกลุ่มทหาร ที่นำโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์?ผู้บัญชาการทหารบก กับ พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์?อธิบดีกรมตำรวจ?ที่ค้ำอำนาจของรัฐบาล จอมพล?ป. พิบูลสงคราม

มีการเลือกตั้งที่นับได้ว่ามีการโกงกันมากที่สุดในประวัติศาสตร์?นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประชาชนร่วมกันเดินขบวนประท้วงการเลือกตั้ง?จอมพล ป. นายกรัฐมนตรี สั่งประกาศภาวะฉุกเฉิน?และแต่งตั้งให้ จอมพลสฤษดิ์ เป็นผู้ปราบปรามการชุมนุม แต่เมื่อฝูงชนเดินทางมาถึงสะพานมัฆวานรังสรรค์แล้ว จอมพลสฤษดิ์กลับเป็นผู้นำเดินขบวน พาฝูงชนข้ามสะพานมัฆวานรังสรรค์



7. รัฐประหาร 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501?นำโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ยึดอำนาจรัฐบาล จอมพลถนอม กิตติขจร?(ตามที่ตกลงกันไว้)


เกิดขึ้นหลังจากที่?จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์?ได้ทำการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2500?ล้มอำนาจเดิมของ?จอมพล ป. พิบูลสงคราม?แล้วได้มอบหมายให้?นายพจน์ สารสิน?เอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเพื่อจัดการเลือกตั้ง?มีการเลือกตั้งขึ้นในวันที่?15 ธันวาคม?พ.ศ. 2500?วันที่?1 มกราคม?พ.ศ. 2501พลโทถนอม กิตติขจร?จึงขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อมา

แต่ว่าการเมืองในรัฐสภาไม่สงบ เนื่องจากบรรดา?ส.ส.?เรียกร้องเอาผลประโยชน์และมีการขู่ว่าหากไม่ได้ตามที่ร้องขอจะถอนตัวจากการสนับสนุนรัฐบาล?เป็นต้น?พล.ท.ถนอม กิตติขจร?ก็ไม่อาจควบคุมสถานการณ์ได้?พล.ท.ถนอม กิตติขจร?จึงประกาศลาออกในเวลาเที่ยงของวันเดียวกัน แต่ทว่ายังไม่ได้ประกาศให้แก่ประชาชนทราบโดยทั่วกัน จากนั้นจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์?ประกาศยึดอำนาจอีกครั้ง โดยอ้างถึงเหตุความมั่นคงของประเทศ ซึ่งมีลัทธิคอมมิวนิสต์กำลังคุกคาม โดยมีคำสั่งคณะปฏิวัติให้ยกเลิกรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2495?ที่ใช้อยู่ขณะนั้น ยุบสภา ยกเลิกสถาบันทางการเมือง


8. รัฐประหาร 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514?นำโดย จอมพลถนอม กิตติขจร ยึดอำนาจรัฐบาลตนเอง

เป็นการรัฐประหารอีกครั้งในประเทศไทย?ที่เป็นการ?ยึดอำนาจตัวเอง?สาเหตุสืบเนื่องจากการที่สมาชิกพรรคสหประชาไทยของจอมพลถนอม กิตติขจร?นายกรัฐมนตรีที่มาจากการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2512?นำโดย นายญวง เอี่ยมศิลา?ส.ส.จังหวัดอุดรธานี?ได้เรียกร้องผลประโยชน์ตอบแทนต่าง ๆ ตามที่จอมพลถนอมได้เคยสัญญาไว้ในช่วงเลือกตั้ง เมื่อไม่ได้รับการตอบแทนดังที่สัญญาไว้ ส.ส.เหล่านี้ได้ต่างพากันเรียกร้องต่าง ๆ นานา บ้างก็ขู่ว่าจะลาออก เป็นต้น ซึ่งเหล่านี้เป็นเหตุให้ จอมพลถนอม หัวหน้าพรรคและนายกรัฐมนตรีซึ่งได้รับฉายาสมัยนั้นว่า?“นายกฯคนซื่อ”?ไม่อาจควบคุมสถานการณ์ในสภาฯ?ได้ จึงทำการยึดอำนาจตนเองขึ้น โดยไม่มีชื่อเรียกคณะรัฐประหารในครั้งนี้โดยเฉพาะเหมือนการรัฐประหารที่เคยมีมาในอดีต แต่เรียกตัวเองเพียงแค่ว่า?คณะปฏิวัติ



9. รัฐประหาร 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519?นำโดย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่?ยึดอำนาจรัฐบาล?ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช


เนื่องจากเหตุการณ์การสังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์?ท่าพระจันทร์?ที่เกิดขึ้นมาตลอดช่วงวันนั้นที่เรียกว่า?เหตุการณ์ 6 ตุลา?รัฐบาลพลเรือนโดย?หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช?นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม?ไม่อาจควบคุมสถานการณ์ให้อยู่ในความสงบเรียบร้อยได้ คณะนายทหาร 3 เหล่าทัพและอธิบดีกรมตำรวจ?นำโดย พลเรือเอกสงัด ชลออยู่?ผู้บัญชาการทหารสูงสุด จึงจำเป็นต้องยึดอำนาจการปกครองไว้ โดยใช้ชื่อว่า?คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน

อ่านต่อ?รัฐประหารครั้งที่ 9

10.รัฐประหาร 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520?นำโดย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ยึดอำนาจรัฐบาล นายธานินทร์ กรัยวิเชียร

เหตุเนื่องจากการที่คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินที่นำโดย พล.ร.อ.สงัด ได้ทำการรัฐประหารเมื่อปี พ.ศ. 2519?เนื่องจากในเหตุการณ์ 6 ตุลา?และแต่งตั้ง นายธานินทร์ กรัยวิเชียร เป็นนายกรัฐมนตรี?โดยรัฐบาลนายธานินทร์มีภารกิจสำคัญที่จะต้องกระทำคือ การปฏิรูปการเมืองภายในระยะเวลา 12 ปี ซึ่งทางคณะปฏิรูปฯเห็นว่าล่าช้าเกินไป ประกอบกับสถานการณ์ต่าง ๆ ในประเทศยังไม่สงบดีด้วย ดังนั้นจึงกระทำการรัฐประหารซ้ำอีกครั้ง ซึ่งอาจเรียกว่าเป็นการ?รัฐประหารตัวเอง?เพื่อกระชับอำนาจก็ว่าได้


11. รัฐประหาร 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534?นำโดย พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์?ยึดอำนาจรัฐบาล พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ

บางครั้งเรียกว่า?เหตุการณ์ รสช.??โดย?คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ?หรือ?รสช.(National Peace Keeping Council – NPKC) ยึดอำนาจจากรัฐบาล?พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ?โดยมีเหตุผลหลายประการ เช่น?พฤติการณ์ฉ้อราษฎร์บังหลวง,??ข้าราชการการเมือง ใช้อำนาจกดขี่ข่มเหงราชการประจำผู้ซื่อสัตย์สุจริต,??รัฐบาลเป็นเผด็จการทางรัฐสภา


12. รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549?นำโดย พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน?ยึดอำนาจรัฐบาลรักษาการ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร


?นำโดย?คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข?ซึ่งมีพลเอก สนธิ บุญยรัตกลินเป็นหัวหน้าคณะ โดยโค่นล้มรักษาการนายกรัฐมนตรีพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร?ซึ่งนับเป็นการก่อรัฐประหารเป็นครั้งแรกในรอบ 15 ปี รัฐประหารครั้งนี้เกิดขึ้นก่อนการเลือกตั้งทั่วไปในเดือนต่อมา หลังจากที่การเลือกตั้งเดือนเมษายนถูกตัดสินให้เป็นโมฆะ นับเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในวิกฤตการณ์ทางการเมืองที่ดำเนินมายาวนานนับตั้งแต่เดือนกันยายน?พ.ศ. 2548?คณะรัฐประหารได้ยกเลิกการเลือกตั้งในเดือนตุลาคม ยกเลิกรัฐธรรมนูญ?สั่งยุบสภา?สั่งห้ามการประท้วงและกิจกรรมทางการเมือง ยับยั้งและเซ็นเซอร์สื่อ ประกาศใช้กฎอัยการศึก?และจับกุมสมาชิกคณะรัฐมนตรีหลายคน


13. รัฐประหาร 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557?นำโดย พล.อ.ประยุทธ จันทร์โอชา?เป็นการประกาศรัฐประหารเพื่อให้รัฐมนตรีรักษาการทั้งหมดหมดอำนาจ และเปลี่ยนผ่านสู่การจัดตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่

เป็นเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทยที่มีผลทั่วราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 เวลา 16.30 น. โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ คสช. (National Peace and Order Maintaining Council) ที่นำโดย พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา?ผู้บัญชาการทหารบก?เป็นหัวหน้าคณะ นับเป็นการรัฐประหารครั้งที่ 13 ในประวัติศาสตร์ไทย



สองวันก่อนหน้านั้น พลเอก ประยุทธ์ ในนามของกองทัพบก ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก?ตั้งแต่เวลา 03:00 นาฬิกา ด้วยการอาศัยอำนาจตามกฎอัยการศึก พ.ศ. 2457?ต่อมากองทัพบกได้ออกประกาศยุติการดำเนินการของศูนย์อำนายการรักษาความสงบเรียบร้อย (ศอ.รส.) และจัดตั้ง?กองอำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย?(กอ.รส.)
ขึ้นแทนโดยมีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
เป็นผู้อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (ผอ.รส.) และออกประกาศคำสั่ง
และขอความร่วมมือในหลายเรื่องอย่างต่อเนื่องในวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
เช่น
ขอให้ระงับการแพร่ภาพออกอากาศโทรทัศน์ดาวเทียมและวิทยุชุมชนที่ไม่ได้รับใบ
อนุญาต ขอความร่วมมือในการเผยแพร่เนื้อหาทางอินเทอร์เน็ต
และเชิญประชุมข้าราชการระดับสูง ผู้นำกลุ่มการเมือง ตัวแทนพรรคการเมืองต่าง
ๆ เป็นต้น




ขอบคุณข้อมูลจากวิกิพีเดีย


Wednesday, June 24, 2015

PIANGDIN ACADEMY: รายการโลกล้อมไทย จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ 24 มิถุนายน ...

ข่าวกอท.เสรีไทย:รายการโลกล้อมไทย จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ พูดสดส่งตรงจาสวีเดนในโอกาสวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24มิถุนายน2558เวลาไทย21.00น.



"ทำไมต้องยกเลิกองคมนตรี,เสรีไทยจะเคลื่อนไหวไปกับประชาชน

"https://www.youtube.com/watch?v=_CFFBbUsuao&feature=youtu.be mp3 http://www.mediafire.com/download/5zouzzkdewu8498















PIANGDIN ACADEMY: ประเทศไทยในฝัน ยุคประชาพาไป ควรมีหน้าตาอย่างไร? ด...




วิสัยทัศน์ ดร.เพียงดิน รักไทย ว่าด้วย เป้าหมายการเปลี่ยนระบอบ  15 ข้อ



(20 มกราคม 2558)

http://youtu.be/Np_5yG9sh0Y





"เป้าหมายการปฏิวัติแบบ มดแดงล้มช้าง ราษฎรเสรีไทย"

โดย ดร.เพียงดิน รักไทย

First Draft (January 21, 2015)

ขอให้พี่น้องที่สนใจ ร่วมแต่งเติม วิพากษ์ และแสดงความเห็นได้เต็มที่ครับ



ขอนั่งคิดดัง ๆ เรื่องทิศทางข้างหน้านะครับ ขบวนปฏิวัติในใจผม จะมีเป้าหมายระดับต่าง ๆ ปน ๆ กันดังนี้ และเมื่อกรอบยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ เหล่านี้ เข้าที่เข้าทางแล้ว ก็จะมีการจัดการเพื่อให้เกิดผลทั้งในภาวะปัจจุบัน ระยะการเปลี่ยนอำนาจ ระยะเปลี่ยนผ่าน และการวางรากฐานถาวรต่อไป



หนึ่ง กำจัดอำนาจกษัตริย์ที่ยุ่งกับการเมืองการปกครองอย่างสิ้นเชิง หากยอมอยู่แบบอังกฤษหรือญี่ปุ่น (ควรจะน้อยกว่าด้วย) ไม่ได้ ก็ไม่ต้องมีสถาบันกษัตริย์ การปกครองจะไม่ใช่ Constitutional Monarchy แต่จะเป็น People's Democratic State หรือ Republic เท่านั้น ไม่มีสร้อย



สอง อำนาจกษัตริย์ที่มีอยู่ในเชิงเศรษฐกิจ การทหาร การปกครอง วัฒนธรรม การศึกษา ศาสนา และอื่น ๆ จะต้องถูกตัดออกให้สิ้น ยกตัวอย่าง เช่น ทรัพย์สินที่มีอยู่จะต้องตกเป็นของแผ่นดิน จะเอาไปเป็นของส่วนตัวไม่ได้ การลงทุนในธุรกิจต่าง ๆ ทุกระดับ จะต้องถูกดึงมาเป็นของหน่วยงานรัฐ ที่ให้ผลประโยชน์คืนกลับเป็นเงินภาษีอากรของประชาชให้หมด โดยการกินอยู่ จะมีการจัดการให้สมกับฐานะ และต้องตัดองคมนตรี และข้ารับใช้ที่รกรุงรังออกไปให้หมด โครงการหลวงต่าง ๆ จะต้องถูกถ่ายโอนไปให้ตัวแทนฝ่ายบริหารรับผิดชอบต่อไป ฯลฯ



สาม การรัฐประหารจะเกิดขึ้นอีกไม่ได้ และจะต้องไม่มีการนิรโทษกรรมได้อีก โทษของผู้ก่อการและสนับสนุน จะต้องสูงถึงขั้นประหารชีวิต และรัฐบาลเฉพาะกิจจะลงสัตยาบันรับธรรมนูญกรุงโรม เพื่อรับอำนาจศาลอาญาระหว่างประเทศโดยด่วนทันที



สี่ สัมปทานน้ำมันและทรัพยากรอื่น ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในช่วงที่ผ่านมา จะต้องถูกเรียกคืนและพิจารณาใหม่ทั้งหมด หากต้องจ่ายชดเชยคืนก็ทำไป เพื่อให้สัปทานต่าง ๆ ผ่านขั้นตอนโดยตัวแทนของประชาชน ที่มาจากการเลือกตั้งภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับถาวรแห่งชาติจะเป็นผู้พิจารณาขั้นตอนการดำเนินงานและการตัดสินผลประโยชน์เพื่อให้ประโยชน์สูงสุดเกิดขึ้นกับประชาชนและประเทศชาติ



ห้า จะต้องมีการปฏิวัติวัฒนธรรม ศาสนา และการศึกษาขนานใหญ่ เพื่อให้ความงมงายและความเป็นไทยที่เป็นพิษที่ซ่อนอยู่ในสังคมไทยถูกถอนออกไปให้หมด เพื่อให้พลเมืองไทยยกระดับเป็นอารยชน และสามารถพัฒนาศักยภาพของตนให้สูงสุด เพื่อแข่งขันและอยู่ร่วมกับชาวโลกอย่างสันติสุขและก้าวหน้าอย่างดีที่สุด



หก ที่ดินและการจัดเก็บภาษีแบบก้าวหน้าที่คนรวยทรัพย์สินเงินทอง จะต้องเสียภาษีให้มาก จะต้องถูกปฏิวัติใหม่ เพื่อให้เกิดการกระจายพื้นฐานการผลิตและโอกาสในการสร้างความมั่งคั่งให้กับปัจเจกชนและชาติโดยรวม คนทั่วประเทศจะต้องอยู่ดีกินดี ให้สมกับการเป็นแผ่นดินที่อุดมสมบูรณ์บนชัยภูมิที่ได้เปรียบ



เจ็ด โครงการต่าง ๆ ที่รัฐบาลเผด็จการศักดินาราชาธิปไตยได้ทำไว้ จะถูกแขวนไว้ทั้งหมด แล้วจัดให้มีการเจรจาใหม่ทั้งหมด เพื่อหาทางแก้ไขการเสียเปรียบและดำเนินการใหม่เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศชาติ



แปด จะพัฒนาการศึกษาไทย เพื่อเป้าหมายให้ไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาโลก โดยยกเอาความสำเร็จของประเทศที่ได้กำไรจากการเป็นศูนย์กลางการศึกษาเช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย เป็นต้น เป้าหมายระยะสั้น ภายในห้าปี ประเทศไทยจะต้องมีดัชนีด้านการศึกษาเป็นสามอันดับต้นของอาเซี่ยน



เก้า สังคมไทยจะต้องถูกปฏิวัติให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ สังคมเปิดเพื่อการเข้าใจสังคมเพื่อบ้านและสังคมโลก การเคารพหลักสิทธิมนุษยชน และการประยุกต์สังคมพุทธและจุดแข็งของสังคมไทย ให้เข้ากับหลักสากล โดยมีการศึกษาวิจัยแล้วกำหนดเป็นเป้าหมายเชิงคุณภาพของพลเมืองไทยอย่างชัดเจน เพื่อเป็นวาระแห่งชาติ แล้วใช้ทุกปัจจัยทุ่มพัฒนาให้เกิดผลที่จับต้องได้ในระยะสั้น ระยะกลางและระยะยาว



สิบ หลักการประชาธิปไตยแบบสากล จะต้องถูกนำมาเป็นเสาหลักของประเทศชาติ สืบทอดไปถึงลูกหลานอย่างสมบูรณ์แบบ การให้การศึกษาแก่พลเมืองทุกหมู่เหล่า ถึงผลดีของการเป็นสังคมประชาธิปไตยและหน้าที่ที่ประชาชนจักพึงมี และอื่น ๆ จะต้องทำอย่างเป็นระบบ สิ่งที่ผ่านมาจะต้องถูกนำมาสรุปเป็นบทเรียน เพื่อให้การปฏิวัติเกิดผลอย่างเด็ดขาด ไม่ให้วงจรอุบาทว์กลับมาทำร้ายประเทศไทยได้อีก



สิบเอ็ด การจัดการกับคอรัปชั่นจะต้องทำอย่างจริงจัง โดยประชาชนจะต้องมีบทบาทในการร่วกำกับอย่างเป็นแก่นสาร ระบบราชการทั้งพลเรือน ทหารตำรวจ และการเมือง จะต้องถูกปฏิวัติเพื่อตัดกลไกการคอรัปชั่นอย่างถึงรากถึงโคน



สิบสอง ประเทศไทยจะเป็นประเทศที่เน้นการค้าขายและร่วมมือกับทุกประเทศ การให้เกียรติและปกป้องมิตรประเทศให้ทำมาหากินอย่างมั่นใจจะถือเป็นภารกิจสำคัญ โดยไม่ให้ประเทศไทยเสียเปรียบใคร



สิบสาม ประเทศไทยจะต้องวางเป้าหมายเป็นศูนย์กลางการค้าและบริการ การแพทย์ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและส่งเสริมธรรมชาติ การเป็นครัวโลก การสร้างศูนย์ดูแลผู้สูงวัย ฯลฯ โดยจะต้องทุ่มทุนให้กับการวิจัยและการวางแผนเพื่อความเป็นเลิศในทุกด้าน เพื่อต่อยอดจุดแข็งทุกจุดของชาติ



สิบสี่ จะต้องมีการพัฒนาทรัพยากรบุคคลและการลงทุนด้านพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติอย่างจริงจัง โดยเป้าหมายคือการเพิ่มมูลค่าจากการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้งบประมาณการบริหารประเทศไทยต้องเพิ่มเป็นสองเท่าของงบประจำปีปัจจุบัน คืออย่างน้อย ต้องมีเงินบริหารประเทศปีละ 4 ล้านล้านบาทเป็นเบื้องต้น ในเวลาไม่เกินสองปี



สิบห้า เมื่อคณะปฏิวัติประชาชนได้อำนาจมาแล้ว จะต้องนิรโทษกรรมคนไทยทุกหมู่เหล่า โดยอาศัยประชามติของประชาชนไทย หลังจากที่มีการตัดสินอย่างเป็นธรรมแล้ว และผู้กระทำความผิดได้แสดงออกอย่างชัดเจนในที่สาธารณะแล้วว่า สำนึกผิดแล้ว และคณะปฏิวัติจะต้องให้ประชาชนมีส่วนร่วมและอนุมัติกรอบการบริหารประเทศร่วมกันโดยเร็วภายในไม่เกินสองปี และจะต้องให้ทุกเรื่องเข้าที่เข้าทางและมีรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนถาวรเพื่อเป็นเสาหลักที่มั่นคงในที่สุด



นอกเหนือจากนี้ ควรให้ประชาชนที่เป็นแนวร่วมการปฏิวัติเปลี่ยนระบอบ ได้มีส่วนร่วมรับรู้และปรับปรุงหรือแต่งเติมเป้าหมายการปฏิวัติข้างบนให้มากที่สุดนับตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป




Tuesday, June 23, 2015

PIANGDIN ACADEMY: คลิปดร.ทักษิณ หมิ่นในหลวง (ความจริง)




ความจริงเกี่ยวกับคลิปทักษิณจาบจ้วง แท้จริงถูกตัดต่อ

Posted by รวมคลิปเด็ด V.2 on Sunday, June 21, 2015








Sunday, June 21, 2015

PIANGDIN ACADEMY: เป็นเอามาก! สมาน ศรีงาม ข่มคณะราษฎร อ้างกษัตริย์ค...











Friday, June 19, 2015

PIANGDIN ACADEMY: ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ ๑ (24 มิถุนายน 2475...








ประกาศคณะราษฎร  ฉบับที่  ๑





ราษฎรทั้งหลาย





                เมื่อกษัตริย์องค์นี้ได้ครองราชย์สมบัติสืบต่อจากพระเชษฐานั้น  ในชั้นต้นราษฎรบางคนได้หวังกันว่ากษัตริย์องค์ใหม่นี้จะปกครองราษฎรให้ร่มเย็น  แต่การณ์ก็หาได้เป็นไปตามที่คิดหวังกันไม่  กษัตริย์คงทรงอำนาจอยู่เหนือกฎหมายเดิม  ทรงแต่งตั้งญาติวงศ์และคนสอพลอไร้คุณความรู้ให้ดำรงตำแหน่งที่สำคัญๆ  ไม่ทรงฟังเสียงราษฎร  ปล่อยให้ข้าราชการใช้อำนาจหน้าที่ในทางทุจริต  มีการรับสินบนในการก่อสร้างและการซื้อของใช้ในราชการ  หากำไรในการเปลี่ยนเงิน  ผลาญเงินของประเทศ  ยกพวกเจ้าขึ้นให้สิทธิพิเศษมากกว่าราษฎร  กดขี่ข่มเหงราษฎร  ปกครองโดยขาดหลักวิชา  ปล่อยให้บ้านเมืองเป็นไปตามยถากรรม  ดังที่จะเห็นได้จากความตกต่ำในทางเศรษฐกิจและความฝืดเคืองในการทำมาหากินซึ่งพวกราษฎรได้รู้กันอยู่โดยทั่วไปแล้ว  รัฐบาลของกษัตริย์เหนือกฎหมายมิสามารถแก้ไขให้ฟื้นขึ้นได้



การที่แก้ไขไม่ได้ก็เพราะรัฐบาลของกษัตริย์มิได้ปกครองประเทศเพื่อราษฎรตามที่รัฐบาลอื่นๆ  ได้กระทำกัน  รัฐบาลของกษัตริย์ได้ถือเอาราษฎรเป็นทาส  (ซึ่งเรียกว่าไพร่บ้าง  ข้าบ้าง)  เป็นสัตว์เดียรัจฉาน  ไม่นึกว่าเป็นมนุษย์  เหตุฉะนั้น  แทนที่จะช่วยราษฎร  กลับพากันทำนาบนหลังราษฎร  จะเห็นได้ว่า  ภาษีอากรที่บีบคั้นเอาจากราษฎรนั้น  กษัตริย์ได้หักเอาไว้ใช้ปีหนึ่งเป็นจำนวนหลายล้าน  ส่วนราษฎรสิ  กว่าจะหาได้แม้แต่เล็กน้อย  เลือดตาแทบกระเด็น  ถึงคราวเสียเงินราชการหรือภาษีใดๆ  ถ้าไม่มีเงินรัฐบาลก็ยึดทรัพย์หรือใช้งานโยธา  แต่พวกเจ้ากลับนอนกินกันเป็นสุข  ไม่มีประเทศใดในโลกจะให้เงินเจ้ามากเช่นนี้  นอกจากพระเจ้าซาร์และพระเจ้าไกเซอร์เยอรมัน  ซึ่งชนชาตินั้นก็ได้โค่นราชบัลลังก์ลงเสียแล้ว



                รัฐบาลของกษัตริย์ได้ปกครองอย่างหลอกลวงไม่ซื่อตรงต่อราษฎร  มีเป็นต้นว่าหลอกว่าจะบำรุงการทำมาหากินอย่างโน้นอย่างนี้  แต่ครั้นคอยๆ  ก็เหลวไป  หาได้ทำจริงจังไม่  มิหนำซ้ำกล่าวหมิ่นประมาทราษฎรผู้มีบุญคุณเสียภาษีอากรให้พวกเจ้าได้กิน  ว่าราษฎรยังมีเสียงทางการเมืองไม่ได้  เพราะราษฎรโง่  คำพูดของรัฐบาลเช่นนี้ใช้ไม่ได้  ถ้าราษฎรโง่  เจ้าก็โง่เพราะเป็นคนชาติเดียวกัน  ที่ราษฎรรู้ไม่ถึงเจ้านั้นเป็นเพราะขาดการศึกษาที่พวกเจ้าปกปิดไว้ไม่ให้เรียนเต็มที่  เพราะเกรงว่าเมื่อราษฎรได้มีการศึกษา  ก็จะรู้ความชั่วร้ายที่พวกเจ้าทำไว้  และคงจะไม่ยอมให้เจ้าทำนาบนหลังคนอีกต่อไป



                ราษฎรทั้งหลายพึงรู้เถิดว่า  ประเทศเรานี้เป็นของราษฎร  ไม่ใช่ของกษัตริย์ตามที่เขาหลอกลวง  บรรพบุรุษของราษฎรเป็นผู้ช่วยกันกู้ให้ประเทศเป็นอิสรภาพพ้นมือจากข้าศึก  พวกเจ้ามีแต่ชุบมือเปิบและกวาดทรัพย์สมบัติเข้าไว้ตั้งหลายร้อยล้าน  เงินเหล่านี้เอามาจากไหน?  ก็เอามาจากราษฎรเพราะวิธีทำนาบนหลังคนนั้นเอง  บ้านเมืองกำลังอัตคัดฝืดเคือง  ชาวนาและพ่อแม่ทหารต้องทิ้งนา  เพราะทำนาไม่ได้ผล  รัฐบาลไม่บำรุง  รัฐบาลไล่คนงานออกอย่างเกลื่อนกลาด  นักเรียนที่เรียนสำเร็จแล้วและทหารที่ปลดกองหนุนแล้วก็ไม่มีงานทำ  จะต้องอดอยากไปตามยถากรรม  เหล่านี้เป็นผลของกษัตริย์เหนือกฎหมาย  บีบคั้นข้าราชการชั้นผู้น้อย  นายสิบ  และเสมียน  เมื่อให้ออกจากงานแล้วก็ไม่ให้เบี้ยบำนาญ  ความจริงควรเอาเงินที่พวกเจ้ากวาดรวบรวมไว้มาจัดบำรุงบ้านเมืองให้คนมีงานทำ  จึงจะสมควรที่สนองคุณราษฎรซึ่งได้เสียภาษีอากรให้พวกเจ้าได้ร่ำรวยมานาน  แต่พวกเจ้าก็หาได้ทำอย่างใดไม่  คงสูบเลือดกันเรื่อยไป  เงินเหลือเท่าไหร่ก็เอาไปฝากต่างประเทศ  คอยเตรียมหนีเมื่อบ้านเมืองทรุดโทรม  ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก  การเหล่านี้ย่อมชั่วร้าย



                เหตุฉะนั้น  ราษฎร  ข้าราชการ  ทหาร  และพลเรือน  ที่รู้เท่าถึงการกระทำอันชั่วร้ายของรัฐบาลดังกล่าวแล้ว  จึงรวมกำลังตั้งเป็นคณะราษฎรขึ้น  และได้ยึดอำนาจของกษัตริย์ไว้ได้แล้ว  คณะราษฎรเห็นว่าการที่จะแก้ความชั่วร้ายนี้ได้ก็โดยที่จะต้องจัดการปกครองโดยมีสภา  จะได้ช่วยกันปรึกษาหารือหลายๆ  ความคิดดีกว่าความคิดเดียว  ส่วนผู้เป็นประมุขของประเทศนั้น  คณะราษฎรไม่ประสงค์ทำการแย่งชิงราชสมบัติ  ฉะนั้น  จึงได้อัญเชิญให้กษัตริย์องค์นี้ดำรงตำแหน่งกษัตริย์ต่อไป  แต่จะต้องอยู่ใต้กฎหมายธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน  จะทำอะไรโดยลำพังไม่ได้  นอกจากด้วยความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎร  คณะราษฎรได้แจ้งความประสงค์นี้ให้กษัตริย์ทราบแล้ว  เวลานี้ยังอยู่ในความรับตอบ  ถ้ากษัตริย์ตอบปฏิเสธหรือไม่ตอบภายในกำหนดโดยเห็นแก่ส่วนตนว่าจะถูกลดอำนาจลงมาก็จะชื่อว่าทรยศต่อชาติ  และก็เป็นการจำเป็นที่ประเทศจะต้องมีการปกครองแบบอย่างประชาธิปไตย  กล่าวคือ  ประมุขของประเทศจะเป็นบุคคลสามัญซึ่งสภาผู้แทนราษฎรได้เลือกตั้งขึ้น  อยู่ในตำแหน่งตามกำหนดเวลา  ตามวิธีนี้ราษฎรพึงหวังเถิดว่าราษฎรจะได้รับความบำรุงอย่างดีที่สุด  ทุกๆ  คนจะมีงานทำ  เพราะประเทศของเราเป็นประเทศที่อุดมอยู่แล้วตามสภาพ  เมื่อเราได้ยึดเงินที่พวกเจ้ารวบรวมไว้จากการทำนาบนหลังคนตั้งหลายร้อยล้านมาบำรุงประเทศขึ้นแล้ว  ประเทศจะต้องเฟื่องฟูขึ้นเป็นแม่นมั่น  การปกครองซึ่งคณะราษฎรจะพึงกระทำก็คือ  จำต้องวางโครงการอาศัยหลักวิชา  ไม่ทำไปเหมือนคนตาบอด  เช่นรัฐบาลที่มีกษัตริย์เหนือกฎหมายทำมาแล้ว  เป็นหลักใหญ่ๆ  ที่คณะราษฎรวางไว้  มีอยู่ว่า



๑.จะต้องรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย  เช่นเอกราชในทางการเมือง  ในทางศาล  ในทางเศรษฐกิจ  ฯลฯ  ของประเทศไว้ให้มั่นคง



๒.จะต้องรักษาความปลอดภัยภายในประเทศ  ให้การประทุษร้ายต่อกันลดน้อยลงให้มาก



๓.ต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ  โดยรัฐบาลใหม่จะจัดหางานให้ราษฎรทุกคนทำ  จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ   ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก



๔.จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน  (ไม่ใช่พวกเจ้ามีสิทธิยิ่งกว่าราษฎรเช่นที่เป็นอยู่ในเวลานี้)



๕.จะต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ  มีความเป็นอิสระ  เมื่อเสรีภาพนี้ไม่ขัดต่อหลัก  ๔  ประการดังกล่าวข้างต้น



๖.จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร



ราษฎรทั้งหลายจงพร้อมใจกันช่วยคณะราษฎรให้ทำกิจอันจะคงอยู่ชั่วดินฟ้านี้ให้สำเร็จ  คณะราษฎรขอให้ทุกคนที่มิได้ร่วมมือเข้ายึดอำนาจจากรัฐบาลกษัตริย์เหนือกฎหมายพึงตั้งตนอยู่ในความสงบและตั้งหน้าทำมาหากิน  อย่าทำการใดๆ  อันเป็นการขัดขวางต่อคณะราษฎร  การที่ราษฎรช่วยคณะราษฎรนี้  เท่ากับราษฎรช่วยประเทศและช่วยตัวราษฎร  บุตร  หลาน  เหลน  ของตนเอง ประเทศจะมีความเป็นเอกราชอย่างพร้อมบริบูรณ์  ราษฎรจะได้รับความปลอดภัย  ทุกคนจะต้องมีงานทำไม่ต้องอดตาย  ทุกคนจะมีสิทธิเสมอกัน  และมีเสรีภาพพ้นจากการเป็นไพร่  เป็นข้า  เป็นทาสพวกเจ้า  หมดสมัยที่เจ้าจะทำนาบนหลังราษฎร  สิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนาคือ  ความสุขความเจริญอย่างประเสริฐซึ่งเรียกเป็นศัพท์ว่า  “ศรีอาริยะ”  นั้น  ก็จะพึงบังเกิดขึ้นแก่ราษฎรถ้วนหน้า





คณะราษฎร

๒๔  มิถุนายน  ๒๔๗๕